Page 211 - Mae Klong Basin
P. 211

5-40






                            2) การพัฒนาเมืองใหมอยางยังยืน อันเปนแนวนโยบายเชิงยุทธศาสตรที่มีความสำคัญยิ่ง

                  ตอการพัฒนาพื้นที่เมืองเพราะการพัฒนาในแนวทางนี้จะตองมีการดำเนินงานที่ประสานและสนับสนุน
                  สอดคลองซึ่งกันและกันในหลาย ๆ ดานและหลายสาขาพรอม ๆ กันอยางมีระบบเปนเชิงองครวม
                  (Holistic Approach) คือกระบวนการพัฒนาที่มีการวางกรอบวิสัยทัศน และแนวทางพัฒนาที่สอดคลอง

                  ตองกันทั้งในดานประชากรทรัพยากร สิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ และสภาพแวดลอมอื่น ๆ ทางกายภาพ
                  ที่สรางขึ้น(Built Environment) ทรัพยากรดานศิลปะวัฒนธรรม ความรูและวิทยากรสมัยใหม
                  จากแนวความคิดและองคประกอบในการสรางเมืองใหนาอยูดังที่กลาวมาแลวนั้นหลายฝายก็มักเกิด
                  คำถามตามมาวา ในเมื่อมีแนวทางแลว ทำอยางไรถึงจะสามารถสรางความนาอยูใหเกิดขึ้นกับเมืองได

                  (กรมโยธาธิการและผังเมือง, 2554) การจัดทำผังเมือง ที่มีความเปนระเบียบเรียบรอย ความสวยงาม
                  การใชประโยชนในทรัพยสิน ความปลอดภัย สวัสดิภาพของสังคม สิ่งแวดลอม ตลอดจนการดำรงรักษา
                  หรือบูรณะสถานที่ที่มีคุณคาทางศิลปกรรม สถาปตยกรรม ประวัติศาสตร และโบราณคดี
                            3)  เมืองอัจฉริยะ (Smart City) ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว

                  (Disruptive Technology) สงผลกระทบตอไลฟสไตลการดำเนินชีวิตของผูคนในสังคม กอใหเกิด
                  แนวคิดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) โดยนำเทคโนโลยีเขามามีสวนรวมในการวางโครงสราง
                  พื้นฐานระบบงานบริการสาธารณะเพื่อเพิ่มศักยภาพใหเมืองมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตอบสนอง
                  ความตองการของคนทุกเพศทุกวัยไดอยางตรงจุด ซึ่งนั่นหมายถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคม

                  เมืองใหดีขึ้น จึงไมนาแปลกใจเลยวาผูบริหารเมืองในยุคนี้ตางนำแนวคิดการสรางเมืองอัจฉริยะ
                  (Smart City) มาพัฒนา และวางแผนเมืองใหมีความนาอยูอยางยั่งยืน ทั้งนี้ องคประกอบของเมือง
                  อัจฉริยะ (Smart City) แบงเปน 2 สวนใหญๆ ไดแก  (1) เทคโนโลยีดิจิทัล ถูกนำมาปรับใชกับเมืองเพื่อ
                  พัฒนาโครงสรางพื้นฐานระบบบริการสาธารณะผานการวิเคราะหขอมูล Big Data เชน การวิเคราะห

                  ขอมูลความแออัดของการจราจรบนทองถนนเพื่อใหเราสามารถวางแผนการเดินทางได การพัฒนาดาน
                  เทคโนโลยีทางการแพทยที่ผูปวยสามารถเขาถึงระบบดูแลสุขภาพโดยที่ตัวเองยังอยูที่บาน เปนตน
                  (2) ประชาชน ผูคนที่มีความเกี่ยวของกับเมืองคือหัวใจหลักในการออกแบบ และวางแผนพัฒนาเมือง
                  (User-Centered Design) ผานการเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดรับกับรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มี

                  การเปลี่ยนแปลงไปอยางสม่ำเสมอ ดังนั้นการไดผูบริหารเมืองที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการสรางเมือง
                  อัจฉริยะ (Smart City) คือปจจัยสำคัญในการพัฒนา และวางแผนเมืองอยางชาญฉลาด เพื่อสนับสนุน
                  การทองเที่ยวเมืองรอง

                            4) ปาในเมืองจากกระแสเรื่องโลกรอนนั้น ปาไมจะมีบทบาทสำคัญอยางยิ่งในการ
                  แกปญหาโลกรอน และประชาชนโดยทั่วไปก็สามารถมีสวนรวมไดไมจำกัด โดยเฉพาะประชาชนที่อาศัย
                  อยูในเขตแนวปาหรือบริเวณใกลเคียง ประชาชนในเขตเมืองใหญ เชน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
                  ก็สามารถมีสวนรวมในเรื่องการจัดการปาไมที่ยั่งยืนไดเชนกัน โดยผานการยอมรับลักษณะของปาในเมือง
                  (urban forest) ที่มีความหมายกวางกวาพื้นที่สีเขียว (green area) ปาในเมือง เปนองคประกอบ

                  ของการปาไมในเมือง (urban forestry) ที่วาดวยการจัดการตนไมในเมืองทั้งแบบมีการวางแผนอยาง
                  เปนระบบ การบูรณาการศาสตรตางๆ ของการจัดการตนไมในเขตเมืองที่คำนึงถึงคุณลักษณะพื้นฐาน
                  ปจจัยดานสังคม คุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยในเขตเมือง ผานการมีสวนรวมของประชาชนที่อยูอาศัย








                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216