Page 215 - Mae Klong Basin
P. 215

5-44






                  ที่เกิดคำถามวาทำไมเรื่อง big data จึงกลายเปนกระแสในปจจุบัน Big data เปนผลที่จากเกิดหลาย ๆ

                  องคประกอบ ไมวาจะเปน  Demand for better data เกิดกระแสกดดันภายใตบริบทของการปฏิรูป
                  สภาวะทางเศรษฐกิจ และนวัตกรรมใหมๆ Supply of relevant data at scale มีการแพรหลายและ
                  ไหลเวียนของขอมูลทั้งขอมูลทางการแพทยและขอมูลอื่น ๆ ที่สามารถเขาถึงไดทั่วไป Technical

                  capability มีการพัฒนาเทคนิคในการวิเคราะหขอมูลจำนวนมากที่ทันสมัย ทำงานงายขึ้นและ
                  เขาถึงไดแพรหลาย Government catalyzing market change มีแรงสงจากภาครัฐที่ถูกกดดัน
                  ใหมีการเปดเผยขอมูลใหโปรงใสจนกระจายไปสูภาคธุรกิจอื่น ๆ แนวโนมในการใช Big Data
                  ในการสรางสรรนวัตกรรมใหม ๆ เกิดขึ้นอีกเรื่อย ๆ เปนกระแส Disruptive Technology

                        10) จากนโยบาย ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ทางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ
                  และสังคมแหงชาติ (สศช.) ไดนำไปใชเปนสวนหนึ่งในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                  ฉบับที่ 12 ที่จะใชบังคับระหวางป 2560-2564 ซึ่งนโยบาย Thailand 4.0 ไปบรรจุไว
                  ในแผนยุทธศาสตรชาติ รัฐบาลตองการผลักดันประเทศเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัลพื่อใหประเทศพนจากกับดัก

                  รายไดปานกลาง แตเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงคอนขางเร็ว ซึ่งปจจุบัน Transform or Perish
                  (ปรับตัวหรือแตกดับ) ถูกนำมากระตุนใหองคกรตระหนักถึงความสำคัญของการปรับตัว
                  เนื่องจากปจจุบันเทคโนโลยีไดเขามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ของผูคนอยางมาก และจากการศึกษาของ DTI
                  (2015) (Digital Transformation Initiative) พบวา กลุมเทคโนโลยีสาคัญประกอบดวย 7 กลุมเทคโนโลยี

                  ไดแก (1) Artificial intelligence (A.I.) (2) Autonomous vehicle (3) Big data analytics and cloud
                  (4) Custom manufacturing and 3D printing (5) Internet of Things (IoT) and connected devices
                  (6) Robots and drones และ (7) Social media and platforms ซึ่งทั้ง 7 กลุมเทคโนโลยีนี้
                  ไมรวมถึงเทคโนโลยีอุบัติใหม (Emerging technologies) เชน Blockchain ที่มีบทบาทสาคัญ

                  ในปจจุบันนี้เชนกัน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) เปนการใชเทคโนโลยี
                  เพื่อใชในการบริหารจัดการฐานขอมูลภายในองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล
                  ในการวางแผนการใชที่ดิน เพื่อใหกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน ควรดำเนินการวิเคราะห
                  กระบวนการดังกลาวโดยใชแบบจำลอง ภูมิสารสนเทศ ศึกษากระบวนการวิเคราะหแบบจำลอง

                  ภูมิสารสนเทศเพื่อใชในการวิเคราะหแบบอัตโนมัติดวย Model Builder กับการพัฒนา scrip
                  ดวยภาษาไพธอน (Python) อยางจริงจัง
                        11) การนำ Internet of Things (IoT) เปนแนวคิดการนำอินเทอรเน็ตไปเชื่อมตอกับอุปกรณตาง ๆ

                  ใหอุปกรณนั้นสามารถรับ-สงขอมูล เพื่อใหเราสามารถควบคุมหรือนำขอมูล จากอุปกรณนั้นมาใชงานได
                  มาประยุกตใชงานในภาครัฐและอุตสาหกรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้น เชน ระบบควบคุมการใหน้ำ ปุย สารชีวพันธุ
                  แบบอัตโนมัติ Internet of Things (IoT) คือ "อินเตอรเน็ตในทุกสิ่ง" หมายถึง การที่อุปกรณตาง ๆ
                  สิ่งตาง ๆ ไดถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอยางสูโลกอินเตอรเน็ต ทำใหมนุษยสามารถสั่งการควบคุมการใชงาน
                  อุปกรณตาง ๆ ผานทางเครือขายอินเตอรเน็ต เชน การเปด-ปด อุปกรณเครื่องใชไฟฟา (การสั่งการเปด

                  ไฟฟาภายในบานดวยการเชื่อมตออุปกรณควบคุม เชน มือถือ ผานทางอินเตอรเน็ต) รถยนต
                  โทรศัพทมือถือ เครื่องมือสื่อสาร เครื่องมือทางการเกษตร อาคาร บานเรือน เครื่องใชในชีวิตประจำวันตาง ๆ
                  ผานเครือขายอินเตอรเน็ต เปนตน IoT มีชื่อเรียกอีกอยางวา M2M ยอมาจาก Machine to Machine

                  คือเทคโนโลยีอินเตอรเน็ตที่เชื่อมตออุปกรณกับเครื่องมือตาง ๆ เขาไวดวยกัน เทคโนโลยี IoT





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220