Page 205 - Mae Klong Basin
P. 205

5-34






                            11) สงเสริมใหความรูเรื่องการบริหารจัดการและการรวมกลุมของชุมชนเกี่ยวกับการพัฒนา

                  อาชีพใหเขมแข็ง หรือรวมกลุมเปน SME (Small and medium Enterprises) คือ วิสาหกิจขนาดกลาง
                  และขนาดยอม ครอบคลุมไปถึงทั้งการคา การผลิต และการบริการ โดยความหมายแลวอาจเขาใจไดวา
                  เปนธุรกิจขนาดเล็ก ใครที่มีเงินทุนก็สามารถเปดได การแบงประเภท SME แบงไดดังนี้

                              (1) ดานการผลิต วิสาหกิจขนาดเล็กมูลคาไมเกิน 50 ลานบาท สวนวิสาหกิจ
                  ขนาดกลางไมเกิน 200 ลานบาท
                              (2) ดานการบริการ วิสาหกิจขนาดเล็กมูลคาไมเกิน 50 ลานบาท สวนวิสาหกิจ
                  ขนาดกลางจะไมเกิน 200 ลานบาทเชนกัน

                              (3) ดานการคา แบงเปนอีก 2 ประเภท คือ คาสงและคาปลีก โดย คาสงขนาดเล็กไมเกิน
                  50 บาท และขนาดกลางไมเกิน 100 ลานบาท สวนคาปลีก ขนาดเล็กไมเกิน 30 ลานบาทและ
                  ขนาดกลางไมเกิน 60 ลานบาท (กรมสรรพากร, 2561)
                            12) รณรงคใหมีการสืบทอด และใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถิ่นหรือภูมิปญญาชาวบาน

                  หมายถึง ความรูของชาวบาน ซึ่งเรียนรูมาจากปู ยา ตา ยาย ญาติพี่นอง และความเฉลียวฉลาดของแตละคน
                  หรือผูมีความรูในหมูบานในทองถิ่นตางๆ ภูมิปญญาชาวบานเปนเรื่องการทำมาหากิน เชน การจับปลา
                  การจับสัตว การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว การทอผา การทำเครื่องมือการเกษตร เปนตน
                            13) เสริมสรางความรวมมือของชุมชนเกษตรและชุมชนพื้นที่ตนน้ำ ในการชวยดูแล

                  และรักษาแหลงน้ำตางๆ ที่สรางขึ้น รวมถึงระบบสาธารณูปโภคที่มีอยู และสรางจิตสำนึกรวม
                  ตอการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                            14) ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเกษตรสู Thailand 4.0 เปนโมเดลพัฒนาประเทศไทยใหม
                  ที่ตองการยกระดับประเทศไทยในทุกมิติของภาคเศรษฐกิจ และภาคเกษตรเปนตัวขับเคลื่อนหลักในยุค

                  Thailand 4.0 โดยเนนเรื่อง กลุมอาหาร เกษตรกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพ กลุมสาธารณสุข สุขภาพ
                  และเทคโนโลยีทางการแพทย กลุมเครื่องมืออุปกรณอัจฉริยะ หุนยนต และระบบเครื่องกลที่ใช
                  อิเล็กทรอนิกสควบคุม กลุมดิจิตอล เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเชื่อมตอและบังคับอุปกรณตาง ๆ
                  ปญญาประดิษฐ (AI) และทคโนโลยีสมองกลฝงตัว กลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค วัฒนธรรม และบริการที่

                  มีมูลคาสูง สำหรับภาคเกษตร 4.0 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีนโยบาย ดังนี้
                              (1) สงเสริมเกษตรกรใหเขาถึงขอมูลไดงาย
                              (2) เพิ่มศักยภาพการผลิตสินคาเกษตรใหเพียงพอตอการบริโภคในประเทศ

                              (3) คิดคนและพัฒนานวัตกรรมรวมถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัย
                              (4) แกไขปญหาหนี้สินของเกษตรกร
                              (5) พัฒนาปรับปรุงกฎระเบียบที่มีอยูใหทันสมัย
                              (6) เนนทำปศุสัตวแปลงใหญใหความสำคัญกับอาหารสุขภาพ
                              (7) เพิ่มมูลคาสินคาเกษตร

                              (8) ปรับการผลิตใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                              (9) เนนทำวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้น
                              (10) บูรณาการการทำงานรวมกันในทุกกระทรวงที่เกี่ยวของเพื่อใหครอบคลุมทุกมิติ








                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210