Page 204 - Mae Klong Basin
P. 204

5-33






                  โดยเนนการแปรรูปดวยความระมัดระวัง เพื่อรักษาสภาพการเปนเกษตรอินทรีย และคุณภาพที่สำคัญ

                  ของผลิตภัณฑในทุกขั้นตอน กระบวนการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียของแตละหนวย
                  ตรวจรับรองเกษตรอินทรียอาจแตกตางกันออกไป ซึ่งหนวยตรวจรับรองจะมีเอกสารชี้แจงรายละเอียด
                  ขั้นตอนตรวจรับรองของตัวเองใหผูสนใจไดรับทราบ ซึ่งผูผลิต-ผูประกอบการควรทำการศึกษาขั้นตอน

                  เหลานี้อยางละเอียดกอนตัดสินใจสมัคร นอกจากนี้ ผูผลิต-ผูประกอบการควรศึกษาเปรียบเทียบ
                  หนวยตรวจรับรอง 2 – 3 แหง เพื่อพิจารณาดูรายละเอียดของขอกำหนดมาตรฐาน คาใชจาย
                  ความรวดเร็ว คุณภาพของการใหบริการ ตลอดจนความนาเชื่อถือของหนวยงานและการยอมรับผลการ
                  ตรวจรับรองของหนวยงานนั้นโดยผูซื้อหรือหนวยงานที่กำกับดูแลการนำเขาสินคาเกษตรอินทรีย

                  ในตางประเทศ (ในกรณีสงออก) เพื่อใชประกอบในการตัดสินใจเลือกหนวยตรวจรับรอง
                            7) นโยบายลดพื้นที่เพาะปลูกในพื้นที่ที่ไมเหมาะสม โดยรัฐตองมีนโยบายที่ชัดเจน
                  และตอเนื่อง รวมทั้งมีนโยบายชวยเหลือและสงเสริมเพื่อจูงใจใหเกษตรกรเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่น
                  ที่ใหผลตอบแทนที่คุมคากวาพืชเดิม

                            8) สงเสริมสนับสนุนใหมีการใหมีการแปรรูปสินคา และเพิ่มมูลคาของสินคาเกษตร
                  หรือเขารวมโอทอป (OTOP: One Tambon One Product) “หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ”
                  เปนแนวทางประการหนึ่ง ที่จะสรางความเจริญแกชุมชนใหสามารถยกระดับฐานะความเปนอยูของคน
                  ในชุมชนใหดีขึ้น โดยการผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่น ใหกลายเปนสินคาที่มีคุณภาพ

                  มีจุดเดนเปนเอกลักษณของตนเองที่ สอดคลองกับวัฒนธรรมในแตละทองถิ่น สามารถจำหนายในตลาด
                  ทั้งภายในและตางประเทศ โดยมีหลักการ พื้นฐาน 3 ประการ คือ (1) ภูมิปญญาทองถิ่นสูสากล
                  (Local Yet Global) (2) พึ่งตนเองและคิดอยางสรางสรรค (Self-Reliance-Creativity) และ
                  (3) การสรางทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development) การพัฒนาเพื่อการสงออก

                  ผลิตภัณฑ OTOP นับเปนกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศอีกทางหนึ่งที่สอดคลองกับ
                  ยุทธศาสตรการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทยในตลาดโลก ดวยการอาศัยการพึ่งพา
                  เศรษฐกิจในประเทศและตางประเทศควบคูกันดวย (กรมการพัฒนาชุมชน, 2544)
                            9) สงเสริมใหมีตลาดกลางทุกตำบลหรือทุกอำเภอ เพื่อรวบรวมสินคาเกษตร

                  โดยไมตองผานพอคาคนกลาง และสงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมอยางเปนทางการ เพื่อศูนยแลกเปลี่ยนความรู
                  และเปนศูนยกลางเชื่อมโยงขาวสารจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนใหเขามาถายทอดเทคโนโลยีและ
                  ความรูใหม ๆ ทำใหกลุมมั่นคงมากขึ้นและทำใหมีอำนาจในการตอรองราคา

                            10) แนวคิดหลักของสมารทฟารม คือ การประยุกตใชเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ
                  คอมพิวเตอร รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการพัฒนาทั้งหวงโซอุปทาน
                  (Supply chain) ของกระบวนการผลิตสินคาเกษตรไปจนถึงผูบริโภค เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิต
                  ลดตนทุน รวมทั้งพัฒนามาตรฐานสินคา สมารทฟารมเปนความพยายามยกระดับการพัฒนา
                  เกษตรกรรม 4 ดานที่สำคัญ ไดแก (1) การลดตนทุนในกระบวนการผลิต (2) การเพิ่มคุณภาพมาตรฐาน

                  การผลิตและมาตรฐานสินคา (3) การลดความเสี่ยงในภาคเกษตร ซึ่งเกิดจากการระบาดของศัตรูพืชและ
                  จากภัยธรรมชาติ (4) การจัดการและสงผานความรู โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศจากการวิจัยไปประยุกต
                  สูการพัฒนาในทางปฏิบัติ และใหความสำคัญตอการใชเทคโนโลยีสารสนเทศของเกษตรกร ซึ่งเทคโนโลยี

                  ที่นำมาใชในการทำสมารทฟารม





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมกลอง
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209