Page 202 - Mae Klong Basin
P. 202

5-31






                            2) การเพิ่มกำลังการผลิตปาไมในแงเศรษฐกิจ

                              ปาไมเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญอยางยิ่งตอสิ่งมีชีวิต ไมวาจะเปนมนุษย
                  หรือสัตวอื่น ๆ เพราะปาไมมีประโยชนทั้งการเปนแหลงวัตถุดิบของปจจัยสี่ คือ อาหาร เครื่องนุงหม
                  ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค การเพิ่มกำลังการผลิต (productivity) ของปาไม โดยใหเกษตรกรผลิตพืช

                  หรือสัตวเศรษฐกิจและตองอาศัยการบริการของระบบนิเวศ สามารถผลิตในรูปเกษตรอินทรีย หรือวนเกษตร
                  ที่มีผลตอบแทนคุณคาทางเศรษฐกิจสูง ประกอบดวยการผลิตพืช เชน กาแฟ โกโก การผลิตกลวยไม
                  สกุลวานิลลา เพาะเห็ด พืชสมุนไพร การปศุสัตว เชนการเพาะพันธุสัตวปา การเลี้ยงชะมดกินกาแฟ
                  นำมาทำผลิตภัณฑกาแฟขี้ชะมด การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ เชน เพาะเลี้ยงปลาสเตอรเจียน เปนตน

                  เพื่อสรางแรงจูงใจใหกับการดูแลและคุมครองสิ่งแวดลอม และเสถียรภาพการผลิตภาคปาไมในอนาคต
                            3) พัฒนาสัตวปามาเลี้ยงเสริมรายไดปองการสูญพันธุ
                              ทรัพยากรจากฐานชีวภาพในประเทศไทยมีความหลากหลายมาก แตเกษตรกร
                  ไมสามารถนำมาใชใหเกิดประโยชนได รัฐควรสงเสริมและพัฒนาสัตวปามาเลี้ยง เพื่อเสริมสราง

                  เศรษฐกิจ จะทำใหเกิดการสรางอาชีพ สรางรายไดแลว ยังชวยใหสัตวปาในธรรมชาติไมสูญพันธุ
                  และการเพาะเลี้ยงสัตวปาในกรงเชิงพาณิชย ยังสงผลดีตอระบบนิเวศ เชนกวาง นกปากขอ และไกฟา
                  เปนตน
                            4) สงเสริมนการปลูกไมมีคาทางเศรษฐกิจ

                              รัฐบาลมุงสงเสริมและสนับสนุนการปลูกไมมีคา เพิ่มพื้นที่ปา 26 ลานไร สรางมูลคา
                  ทางเศรษฐกิจ พัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางไทยนิยม ยั่งยืน เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก
                  สงเสริมใหปลูกไมมีคาทางเศรษฐกิจในที่ดินกรรมสิทธิ์ หรือที่ดินที่ มีสิทธิ์ในการใชประโยชน
                  โดยชอบดวยกฎหมาย เปนกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น

                  โดยขณะนี้มีการบูรณาการการทำงานระหวางหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จะกอใหเกิด
                  ชุมชนไมมีคาเพื่อเกษตรกร สำหรับไมทางเศรษฐกิจ มีทั้งหมด 58 ชนิด ประกอบดวย ไมสัก พะยูง
                  ชิงชัน กระซิก กระพี้เขาควาย สาธร แดง ประดูปา ประดูบาน มะคาโมง มะคาแต เคี่ยม เคี่ยมคะนอง
                  เต็ง รัง พะยอม ตะเทียนทอง ตะเทียนหิน ตะเทียนชันตาแมว ไมสกุลยาง สะเดา สะเดาเทียน ตะกู

                  ยมหิน ยมหอม นางพญาเสือโครง นนทรี สัตบรรณ ตีนเปดทะเล พฤกษ ปบ ตะแบกนา เสลา
                  อินทนิลน้ำ ตะแบกเลือด นากบุด ไมสกุลจำป แคนา กัลปพฤกษ ราชพฤกษ สุพรรณิการ เหลืองปรีดี
                  ยาธร มะหาด มะขามปอม หวา จามจุรี พลับพลา กันเกรา กะทังใบใหญ หลุมพอ กฤษณา ไมหอม

                  เทพทาโร ฝาง ไผทุกชนิด ไมสกุลมะมวง ไมสกุลทุเรียน และมะขาม (สำนักสงเสริมการปลูกปา, 2562)
                       5.3.2 พื้นที่เกษตรกรรม

                            การใชและอนุรักษพื้นที่เกษตร ที่เกษตรกรใชผลิตพืชผล และใหเกษตรกรมีความมั่นคง
                  มั่งคั่ง และยั่งยืน เพื่อความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน และอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ
                  พืชสมุนไพร ระบบนิเวศดินใหสมบูรณ ดังนี้
                            1) ปรับปรุงทรัพยากรดินเพื่อการเกษตร โดยการเพิ่มการใชปุยอินทรีย เชน ปุยพืชสด ปุยหมัก
                  ปุยคอก และน้ำหมักชีวภาพ เปนตน รวมกับการใชปุยเคมีอยางมีประสิทธิภาพ และสงเสริมการทำปุยอินทรีย
                  และน้ำหมักชีวภาพ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553)








                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมกลอง
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207