Page 203 - Mae Klong Basin
P. 203

5-32






                            2) สงเสริมใหมีมาตรการอนุรักษดินและน้ำ เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน เชน
                  การไมเผาตอซัง การปลูกหญาแฝก และทำแนวคันดิน ในการชะลอเก็บกักน้ำโดยเฉพาะในพื้นที่

                  มีความลาดชันสูง (กรมพัฒนาที่ดิน)
                            3) สรางแหลงน้ำในไรนานอกเขตชลประทานใหมากขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงในชวงเวลา
                  ฝนทิ้งชวงและใชชวยระบายน้ำเปนแกมลิงในชวงเวลาฝนตกหนัก รวมทั้งขุดลอกแหลงน้ำสาธารณะ
                  เพื่อเตรียมเก็บกักน้ำไวใชในฤดูแลง
                            4) ใหความรูแกเกษตรกรในการใชน้ำเพื่อการเกษตรใหเกิดประโยชนสูงสุดและ
                  มีการวางแผนการเพาะปลูกพืชใหสอดคลองกับน้ำตนทุน

                            5) เกษตรกรควรรวมกลุมกันพัฒนาสินคาเกษตรใหไดใบรับรองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  (Geographical Indications หรือ GI) เพื่อมูลคาสินคาเกษตร สินคาที่ใชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรมักจะเปน
                  สินคาที่มีชื่อเสียงและไดรับความนิยม เนื่องจากมีคุณสมบัติพิเศษหรือมีลักษณะเฉพาะที่เกิดจากอิทธิพล
                  สิ่งแวดลอมทางภูมิศาสตร เชน สภาพแวดลอม ดิน ฟา อากาศ ของแหลงภูมิศาสตรนั้น ๆ ตลอดจน

                  ทักษะความชำนาญและภูมิปญญาของกลุมชนที่อาศัยอยูในแหลงภูมิศาสตรนั้น ๆ ประกอบดวย
                  สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรมีความแตกตางจากทรัพยสินทางปญญาประเภทอื่น กลาวคือ ผูเปนเจาของ
                  ไมใชบุคคลหนึ่งบุคคลใดแตเปนกลุมชุมชนที่เปนผูผลิตหรือผูประกอบการในพื้นที่ทางภูมิศาสตรนั้น ๆ

                  ซึ่งจะสงผลใหผูผลิตที่อาศัยอยูในสถานที่หรือแหลงภูมิศาสตร และผูประกอบการเกี่ยวกับสินคา
                  ที่ใชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรนั้นเทานั้น ที่มีสิทธิผลิตสินคาดังกลาวโดยใชชื่อทางภูมิศาสตรนั้นได
                  ผูผลิตคนอื่นที่อยูนอกแหลงภูมิศาสตรจะไมสามารถผลิต สินคาโดยใชชื่อแหลงภูมิศาสตรเดียวกันมา
                  แขงขันได สิทธิในลักษณะดังกลาวนี้นักวิชาการบางทานเรียกวา “สิทธิชุมชน” ซึ่งไมสามารถนำสิทธิที่
                  ไดรับไปอนุญาตใหบุคคลอื่นใชตอได ผูที่อยูในพื้นที่แหลงภูมิศาสตรเทานั้นที่มีสิทธิใช

                  สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรนี้ อาจแบงไดเปน 2 ลักษณะคือ (กรมทรัพยสินทางปญญา, 2559)
                              (1) สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรโดยตรง (Direct Geographical Indication) กลาวคือ
                  เปนชื่อทางภูมิศาสตรที่เกี่ยวของกับสินคานั้น ๆ โดยตรง เชน ไชยา เพชรบูรณ เปนตน

                              (2) สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรโดยออม (Indirect Geographical Indication) กลาวคือ
                  เปนสัญลักษณ หรือสิ่งอื่นใดที่ไมใชชื่อทางภูมิศาสตร ซึ่งใชเพื่อบงบอกแหลงภูมิศาสตรอันเปน
                  แหลงกำเนิดหรือแหลงผลิตของสินคา เชน สัญลักษณประจำอำเภอ หรือจังหวัดเชน รูปยาโม รูปหอไอเฟล
                  เปนตน โอกาสการผลิตสินคา GI สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช.) พบวา

                  ปจจุบันสินคาที่ไดขึ้นทะเบียนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรหรือสินคาจีไอ (GI) กำลังไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้น
                  ทั้งตลาดภายในและตางประเทศเนื่องจากผูบริโภคใหความสนใจในแหลงที่มาของสินคา รวมถึงเรื่องราว
                  ประวัติความเปนมาของสินคา โดยเฉพาะตลาดสหภาพยุโรป (EU) มีความตองการสินคา GI คอนขางสูง
                  และมีแนวโนมสดใส

                            6) สงเสริมใหเกษตรกร ทำเกษตรอินทรียใหไดใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย
                  เกษตรอินทรีย (Organic Agriculture) คือ ระบบการจัดการดานการเกษตรแบบองครวม ที่เกื้อหนุน
                  ตอระบบนิเวศ วงจรชีวภาพ และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเนนการใชวัสดุธรรมชาติ หลีกเลี่ยง
                  วัตถุดิบที่ไดจากการสังเคราะห และไมใชพืช สัตว หรือจุลินทรียที่ไดมาจากการดัดแปรพันธุกรรม

                  (Genetic Modification) หรือ พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) มีการจัดการกับผลิตภัณฑ






                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208