Page 176 - Mae Klong Basin
P. 176

5-8






                                  ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่

                                  (1) ควรปรับปรุงบำรุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เชน ปุยหมัก ปุยคอก หรือปุยพืชสด
                  เพื่อชวยปรับปรุงโครงสรางของดินเพิ่มการอุมน้ำของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เปนประโยชน
                                  (2) ปรับปรุงประสิทธิภาพแหลงน้ำใหมีการกักเก็บน้ำไดดีขึ้น

                                  (3) ควรเพิ่มกิจกรรมการผลิต พืช ปศุสัตว ประมง ใหมีความเกื้อกูลกัน
                                (2) เขตทำนา (หนวยแผนที่ 211)
                                มีเนื้อที่ 321,177 ไร หรือรอยละ 1.70 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง มีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบเปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลว

                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรม
                  เพื่อการปลูกขาวโดยอาศัยน้ำฝนเปนหลัก เกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใชที่ดินจากการปลูกขาว
                  มาเปนการทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอินทรียได
                                (3) เขตปลูกพืชไร (หนวยแผนที่ 212)

                                มีเนื้อที่ 57,948 ไร หรือรอยละ 0.31 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง ในเขตนี้สภาพ
                  พื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางเรียบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินที่พบเปนดินลึกถึงลึกมาก มีการระบายน้ำดี
                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญเปนพืชไร
                  เชน มันสำปะหลัง ออยโรงงาน เปนตน พื้นที่เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไร

                  พื้นที่ที่มีการพัฒนาระบบน้ำชลประทานแตระบบสงน้ำไมทั่วถึง หากมีระบบสงน้ำแลว เกษตรกร
                  สามารถเปลี่ยนการใชที่ดินจากการปลูกพืชไรมาเปนการปลูกไมผลหรือ พืชผัก ทำเกษตรผสมผสาน
                  ทำเกษตรอินทรียได
                                (4) เขตปลูกไมผล/ ไมยืนตน/ พืชผัก (หนวยแผนที่ 213)

                                มีเนื้อที่ 400,996 ไร หรือรอยละ 2.12 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึก มีการระบายน้ำดี
                  มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญเปนไมผล
                  หรือพืชผัก ซึ่งไมผลที่พบมาก เชน กลวยหอม และมะมวง เปนตน ไมยืนตน เชน ยางพารา ยูคาลิปตัส

                  เปนตน พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือพืชผัก
                              ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่เขตเกษตรพัฒนา
                                (1) แปลงนาขาว ควรมีการปรับสภาพพื้นที่ในใหสม่ำเสมอ เพื่อควบคุมระดับการแชขัง

                  ของน้ำในระหวางการเพาะปลูกใหเหมาะสม
                                (2) ควรปรับปรุงบำรุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เชน ปุยหมัก ปุยคอก หรือปุยพืชสด
                  เพื่อชวยปรับปรุงโครงสรางของดินเพิ่มการอุมน้ำของดิน และเพิ่มธาตุอาหารที่เปนประโยชนสำหรับพืช
                  รวมกับการใสปุยวิทยาศาสตรในอัตราสวนที่เหมาะสม
                                (3) ควรปลูกพืชคลุมดินเพื่อรักษาความชุมชื้นของดิน

                                (4) แนะนำใหมีการอนุรักษดินและน้ำเพื่อปองกันการชะลางพังทลายของดิน
                  รวมถึงการแนะนำสงเสริมใหมีการปลูกพืช และไถพรวนขวางความลาดชันของพื้นที่
                                (5) พัฒนาองคกรเกษตร ในเขตดังกลาวใหมีความเขมแข็ง สามารถดำเนินการเพื่อ

                  ชวยเหลือเกษตรกร ทั้งในดานปจจัยการผลิตที่มีราคาคอนขางสูงและคุณภาพของปจจัยการผลิต





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181