Page 177 - Mae Klong Basin
P. 177

5-9






                  ที่ตองอยูในระดับที่ดี เชน ปุย สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช และกิ่งพันธุ ปญหาหนี้สินของเกษตรกร

                  ซึ่งมีผลตอการลงทุนของเกษตรกร การควบคุมคุณภาพของผลผลิต การจัดการตลาดที่จะรับซื้อผลผลิต
                  ทางการเกษตรที่เปนระบบ

                            1.2.2 เขตเกษตรกาวหนา
                                มีเนื้อที่ 604,473 ไร หรือรอยละ 23.80 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง พื้นที่เขตนี้
                  ถูกกำหนดใหเปนเขตการเกษตร ซึ่งลักษณะดินที่พบในที่ลุมสวนใหญเปนดินลึกมาก โดยสภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการระบายน้ำเลวถึงคอนขางเลว มีการใชประโยชนที่ดินสำหรับการทำนา
                  สวนบริเวณที่เปนที่ดอนมีสภาพพื้นที่ตั้งแตราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ลักษณะดิน
                  ที่พบสวนใหญเปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง การใชประโยชนที่ดินบริเวณดังกลาวนี้

                  สวนใหญมีการปลูกพืชไร ไดแก ขาวโพด ออยโรงงาน มันสำปะหลัง เปนตน บางพื้นที่มีแหลงน้ำที่
                  สมบูรณเพียงพอ เกษตรกรจะใชพื้นที่เพื่อทำนา ปลูกพืชผัก และไมผล ไดแก กลวยหอม มะมวง ไมผลผสม
                  เปนตน นอกจากนั้นยังมีการปลูกไมยืนตน เชน สัก ยางพารา มะขาม สะเดา เปนตน ผลการประเมิน
                  ความเหมาะสมของดินทางกายภาพในเขตนี้พบวา อยูในระดับความเหมาะสมปานกลางถึงสูงตอการปลูกพืช

                  ซึ่งอาจมีขอจำกัดบางประการในการใชที่ดิน พื้นที่เขตเกษตรกาวหนาสามารถแบงเขตการใชที่ดินเพื่อ
                  การผลิตไดเปน 4 เขต ตามศักยภาพและความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                1) เขตเกษตรผสมผสาน (หนวยแผนที่ 220)
                                  มีเนื้อที่ 75 ไร มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนลาด

                  เล็กนอย ดินที่พบเปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำเลวถึงคอนขางเลว ดินมีความอุดมสมบูรณ
                  ตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง พื้นที่เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการเกษตรผสมผสาน
                  ดังนั้นในชวงฤดูฝน ถามีฝนทิ้งชวงก็จะมีผลกระทบตอขาว พืชไร พืชผักที่ปลูกได
                                2) เขตทำนา (หนวยแผนที่ 221)

                                  มีเนื้อที่ 321,177 ไร หรือรอยละ 1.70 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบเปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลว
                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรม

                  เพื่อการปลูกขาวโดยอาศัยน้ำฝนเปนหลัก เกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใชที่ดินจากการปลูกขาว
                  มาเปนการทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอินทรียได
                                3) เขตปลูกพืชไร (หนวยแผนที่ 222)
                                  มีเนื้อที่ 603,662 ไร หรือรอยละ 2.80 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางเรียบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินที่พบเปนดินลึกปานกลาง

                  ถึงลึกมาก มีการระบายน้ำดี ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลาง สภาพการใชที่ดิน
                  ในปจจุบันสวนใหญเปนพืชไร เชน ขาวโพด มันสำปะหลัง เปนตน พื้นที่เขตนี้กำหนดให
                  เปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไรพื้นที่ที่อาศัยน้ำฝน หากมีการพัฒนาชลประทานและระบบสงน้ำแลว

                  เกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใชที่ดินจากการปลูกพืชไรมาเปนการปลูกไมผลหรือ พืชผัก ทำเกษตรผสมผสาน
                  ทำเกษตรอินทรียได








                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมกลอง
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182