Page 179 - Mae Klong Basin
P. 179

5-11






                                1) เขตทำนา (หนวยแผนที่ 231)

                                มีเนื้อที่ 136,636 ไร หรือรอยละ 0.72 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  มีสภาพพื้นราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำ
                  คอนขางเลวถึงดีปานกลาง มีปญหาความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ เนื้อดินเปนทรายจัดหรือ

                  คอนขางเปนทราย เปนดินตื้น เปนดินเค็ม บางพื้นที่มีการทวมขังของน้ำ พื้นที่ในเขตนี้ดิน
                  มีความเหมาะสมสำหรับการปลูกขาวเล็กนอย สภาพการใชประโยชนที่ดินในปจจุบันเกษตรกรมีการใชที่ดิน
                  เพื่อการปลูกขาวโดยอาศัยน้ำฝนเปนหลัก สามารถแบงเขตการใชที่ดินออกเปน 4 เขต ตามศักยภาพ
                  และปญหาของดินไดดังนี้

                                  (1) เขตทำนา นอกเชตชลประทาน (หนวยแผนที่ 2310) มีเนื้อที่ 57,072 ไร
                  หรือรอยละ 0.30 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                                  (2) เขตทำนาในพื้นที่ดินทราย (หนวยแผนที่ 2311) มีเนื้อที่ 60,135 ไร
                  หรือรอยละ 0.32 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง

                                  (3) เขตทำนาในพื้นที่ดินตื้น (หนวยแผนที่ 2312) มีเนื้อที่ 3,629 ไร หรือรอยละ 0.02
                  ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                                  (4) เขตทำนาในพื้นที่ดินไมเหมาะสม (หนวยแผนที่ 2314) มีเนื้อที่ 15,800 ไร
                  หรือรอยละ 008 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง

                                ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่
                                  (1) ควรเปนพื้นที่เปาหมายในการเรงรัดพัฒนาแกปญหา ดินเปนทรายจัด
                  หรือดินคอนขางเปนดินทราย ดินตื้น และพื้นที่น้ำทวมขัง พรอมทั้งปรับปรุงบำรุงดิน อนุรักษดินและน้ำ
                  ตามแนวทางของกรมพัฒนาที่ดิน

                                  (2) พัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในไรนาและปรับเปลี่ยนขาวพันธุดีใหเหมาะสมกับ
                  สภาพพื้นที่ โดยยึดแนวทางการใชที่ดินแบบเศรษฐกิจพอเพียง ทำเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทาง
                  ทฤษฎีใหม หรือระบบเกษตรกรรมยั่งยืน

                                  (3) สงเสริมอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายไดใหกับครัวเรือนเกษตรกรในเขตนี้
                                  (4) ควรลดพื้นที่ปลูกขาวไมเหมาะสม เปนระบบเกษตรผสมผสาน
                                2) เขตปลูกพืชไร (หนวยแผนที่ 232)
                                  มีเนื้อที่ 119,918 ไร หรือรอยละ 0.63 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง

                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำดีถึง
                  มากเกินไป ดินมีปญหาความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ ดินเปนทรายจัด และดินตื้น พื้นที่ในเขตนี้ดิน
                  มีความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชไรเล็กนอยสามารถแบงเขตการใชที่ดินออกเปน 3 เขต
                  ตามศักยภาพและปญหาของดินไดดังนี้
                                    (1) เขตปลูกพืชไร (หนวยแผนที่ 2321) มีเนื้อที่ 52,348 ไร หรือรอยละ

                  0.27 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                                    (2) เขตปลูกพืชไรในพื้นที่ดินทราย (หนวยแผนที่ 2322) มีเนื้อที่ 29,386 ไร
                  หรือรอยละ 0.16 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง








                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมกลอง
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184