Page 181 - Mae Klong Basin
P. 181

5-13







                                    (4) สงเสริมอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายไดใหกับครัวเรือนเกษตรกรในเขตนี้
                                4) เขตปศุสัตว (หนวยแผนที่ 240)
                                  มีเนื้อที่ 61,411 ไร หรือรอยละ 0.33 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  สภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึกปานกลางถึงลึก เนื้อดินคอนขางเปนทราย

                  และบางพื้นที่เปนดินตื้น มีการระบายน้ำเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับต่ำบางบริเวณ
                  มีการทำนาบนพื้นที่ดอนหรือที่เกษตรกรเรียกวานาโคก พื้นที่ในเขตนี้ดินมีความเหมาะสมเพียงเล็กนอย
                  เทานั้นสำหรับการปลูกขาว สภาพการใชประโยชนที่ดินในปจจุบันเกษตรกรมีการใชที่ดินเพื่อการปลูกหญา
                  และเลี้ยงสัตว เลี้ยงสุกรเปนสวนใหญ เลี้ยงสัตวปก รวมทั้งเปนพื้นที่โรงเรือนเลี้ยงสัตว มักโดยอาศัย

                  น้ำฝนเปนหลัก พื้นที่เขตนี้พบมากบริเวณทางตอนกลางและตอนบนของพื้นที่ลุมน้ำหลัก
                                5) เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ/พืชน้ำ (หนวยแผนที่ 250)
                                  มีเนื้อที่ 149,760 ไร หรือรอยละ 0.79 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึก มีการระบายน้ำ

                  คอนขางดี การเลี้ยงสัตวน้ำนับไดวามีความสำคัญในวัฎจักรของสัตวน้ำ และเปนเวลาที่ยาวนาน
                  กวาการเพาะและอนุบาลสัตวน้ำ การเลี้ยงที่ดีจำเปนตองอาศัยการดูแลใหถูกวิธี เลี้ยงถูกขั้นตอนและ
                  ประหยัดตนทุน ผลิตสัตวน้ำที่มีคุณภาพ สามารถจำหนายไดในราคาที่ดีสงผลใหประสบความสำเร็จ
                  ในการเลี้ยง ซึ่งจะมีขั้นตอนระบบ ประเภทและลักษณะของการเลี้ยงแตกตางกันออกไป จากการศึกษา

                  พบวาบริเวณพื้นที่ลุมน้ำสาขาแมน้ำแมกลอง นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมปลูกพืชแลว
                  เกษตรกรยังทำประมงควบคูกันไปดวย โดยปลาที่นิยมเลี้ยงไดแกปลานิล ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาสวาย
                  วัตถุประสงคของการเลี้ยงที่สำคัญคือ เพื่อใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพื่อจำหนายในทองถิ่น
                  ซึ่งมีความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้เพื่อเปนแหลงอาหารประเภทโปรตีน พื้นที่เขตนี้พบมากบริเวณ

                  ทางตอนกลาง และตอนลางของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                                6) เขตทุงหญาเลี้ยงสัตว (หนวยแผนที่ 260)
                                  มีเนื้อที่ 233,175 ไร หรือรอยละ 1.23 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  สภาพการใชที่ดินที่พบเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวและดินมีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงต่ำ มีสภาพพื้นที่

                  ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชันหญาเปนอาหารของสัตวหลายชนิด ไมเฉพาะแตชาง มา วัว ควาย
                  แพะ แกะ ซึ่งเปนสัตวใหญ สัตวตัวเล็ก ๆ เชน กระตาย หรือหนูบางชนิด การปลูกหญาทำทุงเลี้ยงสัตว
                  ใหมีคุณภาพที่เอื้อประโยชนแกสัตว เปนเรื่องที่ใชความรู ทั้งดานพืช ดิน ปุย รวมทั้งการเลี้ยง

                  และดูแลสัตวดวย พื้นที่ที่จะใชปลูกหญาเลี้ยงสัตว อาจทำไดในพื้นที่ขนาดตาง ๆ เชน อาจปลูกแบบหญาสวนครัว
                  ในพื้นที่ที่วาง สำหรับตัดใหสัตวกิน หรือปลูกเปนทุงใหญ สำหรับปลอยสัตวเขาไปแทะเล็ม
                  หรืออาจปลูกผสมผสานแซมในสวนไมผล เชน มะพราว มะมวงหิมพานต แลวเลี้ยงสัตวควบคูกันไป
                  ทำใหเกิดรายไดเสริมแกผูเลี้ยงสัตวไปในตัว จากการศึกษาพบวาบริเวณพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมดานการปลูกพืชแลว เกษตรกรยังเลี้ยงสัตวควบคูกันไปดวย

                  โดยสัตวที่นิยมเลี้ยงไดแก โคเนื้อ โคนม หรือกระบือ วัตถุประสงคของการเลี้ยงที่สำคัญคือ เพื่อใชใน
                  การบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพื่อจำหนายและไวใชแรงงาน ซึ่งมีความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้เพื่อ
                  เปนแหลงอาหารของสัตวดังกลาว







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมกลอง
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186