Page 130 - Mae Klong Basin
P. 130

3-96





                  การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสูอนาคต การเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 การแกไข

                  ปญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ทั้งฝายการเมืองและฝายราชการประจํา การแกไข
                  ปญหายาเสพติดและสรางความสงบสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต การพัฒนาระบบการใหบริการ
                  ประชาชน การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแลงและอุทกภัยการสนับสนุนใหมีการศึกษา การรับฟง

                  ความเห็นของประชาชน และการดําเนินการเพื่อแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (สำนักงานรัฐมนตรี, 2562)
                            5) แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2560-2564 (สำนักงานนโยบายและ
                  แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2559) พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
                  พ.ศ. 2535 กำหนดใหมีการจัดทำ “แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม” ไดนอมนำหลักปรัชญาของ

                  เศรษฐกิจพอเพียง และหลักการการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาเปนแนวทาง
                  ในการกำหนดมาตรการเพื่อใหการจัดการและแกไขปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนไป
                  อยางมีประสิทธิภาพ สามารถทันตอสถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม และ
                  สิ่งแวดลอม มียุทธศาสตรภายใตแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2560-2564 ประกอบดวย

                  (1) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางสมดุลและเปนธรรม ไดแก การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
                  ประเภทตาง ๆ เชน ปาไม ดิน และน้ำ รวมถึงการมีสวนรวมในการจัดการ และการสรางความตระหนัก
                  ในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ (2) การจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดี ไดรับการปองกัน บำบัด
                  และฟนฟู เชน การปองกัน ลด และขจัดมลพิษ การเยียวยาชวยเหลือผูที่ไดรับผลกระทบ และการ

                  จัดการสิ่งแวดลอมชุมชน (3) การเพิ่มประสิทธิภาพการใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยาง
                  คุมคาและยั่งยืน ไดแก การผลิตและบริโภคอยางยั่งยืน (4) การสรางศักยภาพเพื่อรองรับการ
                  เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ และสงเสริมความรวมมือกับตางประเทศ เชน การลด
                  การปลอยกาซเรือนกระจก และการสรางขีดความสามารถในการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพ

                  ภูมิอากาศ มาตรา 36 แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมตามมาตรา 35 อาจจัดทำเปนแผนระยะสั้น
                  ระยะกลาง หรือระยะยาวไดตามความเหมาะสม
                            6) แผนแมบทบูรณาการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2564
                  (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2558ก) เพื่อจัดทำขึ้นบนพื้นฐาน

                  ของ“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ที่ใชเปนแนวคิดหลักในการบูรณาการมิติเศรษฐกิจ สังคม
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เขาดวยกัน ภายใตกระบวนการทำงานที่เชื่อมโยงตอเนื่องกัน
                  ใชโอกาส ศักยภาพ และปจจัยแวดลอมที่มีอยู เพื่อใหเกิดการสรางฐานรากการพัฒนาที่มั่นคง ยกระดับ

                  และเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพอยางเปนลำดับขั้น สามารถ “พึ่งตนเอง” ไดมี “ภูมิปญญา” และ
                  “ภูมิคุมกัน” พรอมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและปจจัยคุกคามได และสรางความสมดุลระหวางการ
                  อนุรักษและการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว นอกจากนี้ยังได
                  นอมนำหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว อาทิ “ปลูกปาในใจคน” ใชเปนแนวคิด
                  หลักในการเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติในทุกระดับเพื่อใหมีความตระหนักถึงความสำคัญและ

                  กระบวนการอนุรักษ ฟนฟู และใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน “ใชธรรมชาติ
                  ชวยธรรมชาติ” ในการแกไขปญหาปาเสื่อมโทรม โดยใชวิธีการ “การปลูกปา 3 อยางประโยชน 4 อยาง"
                  ไดแก ไมใชสอย ไมกินได ไมเศรษฐกิจ และสรางความชุมชื้นใหแกพื้นดิน นำมาใชเปนแนวคิดหลักใน








                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135