Page 133 - Mae Klong Basin
P. 133

บทที่ 4

                                                 การพัฒนาแบบจำลอง



                        กระบวนการปรับปรุงแผนการใชที่ดินระดับลุมน้ำสาขาโดยใชแบบจำลองภูมิสารสนเทศและ
                  การจัดทำฐานขอมูลเพื่อสนับสนุนแบบจำลอง :ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง ดำเนินการพัฒนา ระบบ
                  ฐานขอมูล (Database System) การออกแบบฐานขอมูล (Designing Databases) ระบบฐานขอมูล
                  เชิงสัมพันธ (Relational Database) การสราง Model Buide ดวยการเขียน Geoprocessing Script

                  การและ พัฒนาพจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary) เพื่อรองรับระบบแบบจำลองการวางแผนการใชที่ดิน คือ

                  4.1 ระบบฐานขอมูล
                        ฐานขอมูล หมายถึง วิธีในการจัดการขอมูลที่มีอยูในระบบ เพื่อใชงานไดงาย รวมถึงการเปลี่ยนแปลง
                  ขอมูลไดงาย เชนการเพิ่มหรือลดขอมูล เปนตน หรือฐานขอมูล หมายถึง แหลงที่ใชสำหรับเก็บรวบรวม

                  ขอมูลซึ่งอยูในรูปแฟมขอมูลมารวมไวที่เดียวกัน รวมทั้งตองมีสวนของพจนานุกรมขอมูล (data
                  dictionary) เก็บคำอธิบายเกี่ยวกับโครงสรางของฐานขอมูล และเนื่องจากขอมูลที่จัดเก็บนั้นตองมี
                  ความสัมพันธซึ่งกันและกันทำใหสามารถสืบคน (retrieval) แกไข (modified) ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง

                  โครงสรางขอมูล (update) และจัดเรียง (sort) ไดสะดวกขึ้น (โกเมศ, 2560) วิธีในการจัดการขอมูลที่มี
                  อยูในระบบ เพื่อใชงานไดงาย รวมถึงการเปลี่ยนแปลงขอมูลไดงาย ใชงานขอมูลในฐานขอมูล
                  (database) และควรมีการดูแลรักษาความปลอดภัยของขอมูลเหลานั้น มีการกำหนดสิทธิของผูใชงาน
                  แตละคนใหแตกตางกัน ตามแตความตองการในการใชงาน (Adisak, 2011) โดยในการกระทำการดังที่

                  กลาวมาแลว ตองอาศัยซอฟตแวรประยุกตสำหรับจัดการฐานขอมูล ที่รวบรวมแฟมขอมูลหลาย ๆ
                  แฟมขอมูลเขาดวยกัน โดยขจัดความซ้ำซอนของขอมูลออก แลวเก็บขอมูลไวที่ศูนยกลาง เพื่อการใชงาน
                  รวมกันในหนวยงาน จากความหมายที่กลาวมาขางตน ระบบฐานขอมูลจะประกอบดวยแฟมขอมูล
                  จำนวนหลาย ๆ แฟมดังตัวอยางในรูปที่ 4-1 แฟมขอมูลเหลานี้ตองมีการจัดระบบแฟมไวอยางดี

                  กลาวคือ ขอมูลในแฟมขอมูลเดียวกันตองไมมีการซ้ำซอนกัน แตระหวางแฟมขอมูลอาจมีการซ้ำซอนกัน
                  ไดบาง และตองเปดโอกาสใหผูใชสามารถเขาถึงขอมูล และคนหาไดงาย นอกจากนี้ยังสามารถ เพิ่มเติม
                  หรือลบออกไดโดยไมทำใหขอมูลอื่นเสียหาย (โกเมศ, 2560)
                        ระบบฐานขอมูลสวนใหญเปนระบบที่มีการนำระบบคอมพิวเตอรเขามาชวยใน การจัดเก็บ

                  โดยมีโปรแกรม Software ชวยในการจัดการขอมูลเหลานี้ เพื่อใหไดขอมูลตามที่ผูใชตองการ
                  องคประกอบของฐานขอมูลแบงออกเปน 5 ประเภท คือ
                          1) ฮารดแวร (Hardware) ในระบบฐานขอมูลที่มีประสิทธิภาพควรมีฮารดแวรตาง ๆ ที่พรอม

                  อำนวยความสะดวกในการบริหารขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพไมวาจะเปนความเร็วของหนวย
                  ประมวลผลกลาง ขนาดของหนวยความจำหลัก อุปกรณนำเขาและออกขอมูล รายงานหนวยความจำสำรอง
                  ที่จะรองรับการประมวลผลขอมูลในระบบไดอยางมีประสิทธิภาพ
                          2) ซอฟตแวร (Software) ในการประมวลผลขอมูลอาจใชซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่แตกตางกัน
                  ทั้งนี้ขึ้นอยูกับคอมพิวเตอรที่นำมาใชวาเปนแบบใด โปรแกรมจะทำหนาที่ดูแลการสราง

                  การเรียกใชขอมูลการจัดทำรายงาน การปรับเปลี่ยน แกไข โครงสรางการควบคุม หรืออาจกลาวไดอีกอยางวา






                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมกลอง
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138