Page 135 - Mae Klong Basin
P. 135

4-3






                  จัดเก็บโดยวิธีใด เทคนิคการเรียกใชขอมูล กำหนดระบบวิธีการรักษาความปลอดภัยของขอมูล

                  การสรางระบบขอมูลสำรอง การกูและประสานงานกับผูใชวามีความตองการใชขอมูลอยางไร
                  รวมถึงการวิเคราะหและการออกแบบระบบ เพื่อใหนักเขียนโปรแกรมนำไปเขียนโปรแกรมที่ใชใน
                  การบริหารงานระบบฐานขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ

                          5) ขั้นตอนปฏิบัติงาน (procedure) ในระบบฐานขอมูลที่ดีจะตองมีการจัดทำเอกสารที่ระบุ
                  ขั้นตอนการทำงานของหนาที่ตาง ๆ ระบบฐานขอมูลทั้งในสภาวะปกติ และในสภาวะที่ระบบเกิดขัดของ
                  มีปญหา ซึ่งเปนขั้นตอนการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรในทุกระดับขององคกร

                  4.2 การออกแบบฐานขอมูล (Designing Databases)

                        การออกแบบฐานขอมูล (Designing Databases) มีความสำคัญตอการจัดการระบบฐานขอมูล
                  (DBMS) ทั้งนี้เนื่องจากขอมูลที่อยูภายในฐานขอมูลจะตองศึกษาถึงความสัมพันธของขอมูล โครงสราง
                  ของขอมูลการเขาถึงขอมูลและกระบวนการที่โปรแกรมประยุกตจะเรียกใชฐานขอมูล ดังนั้น
                  เราจึงสามารถแบงวิธีการสรางฐานขอมูลได 3 ประเภท

                          1) รูปแบบขอมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสรางแบบลำดับขั้น (Hierarchical data model)
                  วิธีการสรางฐาน ขอมูลแบบลำดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จำกัด ในป 1980 ไดรับความนิยมมาก
                  ในการพัฒนาฐานขอมูลบนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญและขนาดกลาง โดยที่โครงสรางขอมูล

                  สรางรูปแบบเหมือนตนไม โดยความสัมพันธเปนแบบหนึ่งตอหลาย (One- to -Many) รูปที่ 4-2
                  แสดงโครงสรางลำดับขั้นของผูสำรวจดิน ทักษะนักสำรวจดิน รายงานสำรวจดิน ระบบจัดการฐานขอมูล
                  (Elements of a database management systems) มีขอดีและขอเสียของระบบการจัดการฐานขอมูล
                  ระบบการจัดการฐานขอมูลจะมีทั้งขอดีและขอเสียในการที่องคการจะนำระบบนี้มาใชกับหนวยงานของ
                  ตนโดยเฉพาะหนวยงานที่เคยใชคอมพิวเตอรแลวแตไดจัดแฟมแบบดั้งเดิม (Convention File)

                  การที่จะแปลงระบบเดิมใหเปนระบบใหมจะทำไดยากและไมสมบูรณ ไมคุมกับการลงทุน ทั้งนี้เนื่องจาก
                  คาใชจายในการพัฒนาฐานขอมูลจะตองประกอบดวย วิธีการจัดแบบลำดับขั้นเปนการจัดกลุมของขอมูลที่
                  มีความสัมพันธกันและกำหนดใหเปนเซ็กเมนต (Segment) โดยมีการแยกประเภทของเซ็กเมนตวาเปน

                  เซ็กเมนตราก (Root segment) หรือ เซ็กเมนตที่เปนตัวพึ่ง(Dependent segment) และแสดงถึง
                  ฐานขอมูลของสายงงานสำรวจดิน ซึ่งจัดอยูในรูปแบบลำดับขั้น เซ็กเมนตที่เปนราก คือ ชื่อหนวยงาน
                  (Department name) โดยมีเซ็กเมนตที่เปนตัวพึ่ง 2 เซ็กเมนตคือ เซ็กเม็นผูสำรวจดิน (Instructor)
                  และรายงานสำรวจดินจังหวัด (Report) สำหรับเซ็กเมนตผูสำรวจดินก็จะมีตัวพึ่งอีก 1 เซ็กเมนต คือ
                  เซ็กเมนตความชำนาญ (Skill) สวนเซ็กเมนตรายงานการสำรวจดินก็จะมีตัวพึ่งเปนเซ็กเมนต สำรวจดิน























                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140