Page 137 - Mae Klong Basin
P. 137

4-5






                  ตารางที่ 4-1 แสดงการออกแบบรายการฐานขอมูลดินแบบเกา


                   Soil_gr  Soil_Seri  Slope  Text_top  Depth  BS_down  CEC_down   EC   pH_top  Soil_map


                                                                     ความจุในการ
                                                            ความอิ่มตัว
                   กลุมชุด         ความ            ความลึก           แลกเปลี่ยน  คาการ  ปฏิกิริยา  หนวยแผน
                     ดิน    ชุดดิน   ลาดชัน   เนื้อดินบน   ดิน   ดวยดางดิน  ประจุบวกดิน นำไฟฟา   ดินบน   ที่ดิน
                                                               ลาง
                                                                        ลาง

                        จากรูปจะเห็นวาโอกาสที่ขอมูลจะซ้ำซอนมีมากในระบบการจัดการแฟมแบบเกา ชุดดินหรือ
                  กลุมชุดดินหรือสมบัติดินตาง ๆ ก็มีรายการแยกตางหาก ดังนั้นชุดดินมากกวาหนึ่งกลุม ชุดดินจะปรากฏ
                  มากกวาหนึ่งครั้งในไฟลนอกจากนั้นกลุมชุดดิน และสมบัติดินที่อยูก็จะปรากฏซ้ำ ๆ กันในไฟลขอมูลรวม

                  ดังนั้นจึงวางระบบฐานขอมูล โดยแนะนำใหสรางฐานขอมูลลักษณะเครือขาย



                                   Soil_Seri  Slope  Text_top  Depth     สมบัติทางการกายภาพบางประการ



                            Soil_gr  Soil_Seri  Soil_map      ฐานขอมูลหลัก



                            Soil_gr  Soil_Seri  BS_down  CEC_down  EC  pH_top        เคมีดิน


                  รูปที่ 4-3 แสดงการสรางฐานขอมูลแบบเครือขายปรับปรุงใหม

                        เพื่อลดความซ้ำซอน โดยการสรางความสัมพันธระหวางรายการเขาดวยกัน จะเห็นวา
                  ความสัมพันธแบบหนึ่งตอหลายรายการ (Record) ระหวางรายการชื่อสำนักพิมพและชื่อเรื่อง
                  ซึ่งแสดงโดยมีรูปลูกศรซอนกัน 2 หัวเราเรียกรวมชื่อชุดดินซึ่งมีความสัมพันธกันวาเซตและเรียกวาสกีมา
                  (Schema) ดังนั้น ชื่อชุดดินจะปรากฏเพียงหนึ่งครั้งและเชื่อมโยงกับสมบัติดิน ขณะที่ชื่อสมบัติดิน

                  ทางกายภาพ และเคมี เมื่อตองการเขาถึงรายการจะสามารถเขาถึงผานทางชุดดินและกลุมชุดดินก็ได
                  โดยอาศัยเสนทางเชื่อมตอระหวางรายการ ทำใหขอมูลทุกรายการสามารถติดตอถึงกันไดอยางถูกตอง
                  รายการหรือเรคอรดสมาชิก (Member) เชน เรียกเรคอรดของชุดดินกอนก็เปนเรคอรดนำ
                  และหาตัวเชื่อมเพื่อไปคนหารายชื่อสมบัติเคมีดินซึ่งเปนเรคอรดสมาชิกก็จะปรากฏขึ้น

                        ขอดีและขอเสียของโครงสรางแบบเครือขาย คือ เรคอรดแตละประเภท สามารถใชเปนเรคอรด

                  นำไดโดยกลาวถึงกอน สวนการซ้ำซอนของขอมูลจะมีนอยมากเนื่องจากเรคอรดสมาชิกสามารถ
                  ใชรวมกันได เชน รายละเอียดของชุดดินอาจมีสมบัติดินหลายดานรวมทั้งความเหมาะสมของดิน
                  จึงสามารถใชรวมกันได ขอเสีย ความสัมพันธของเรคอรดประเภทตาง ๆ ไมควรจะเกิน 3 ประเภท เชน

                  ชื่อดิน ปสำรวจ หนวยงาน หากมีความสัมพันธหลายประเภท อาจจะออกแบบเครือขายไมไดหรือยุงยากขึ้น
                  เนื่องจากมีขอจำกัดในการออกแบบ







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142