Page 125 - Mae Klong Basin
P. 125

3-91





                  ซึ่งสงผลใหเกิดภาวะความยุงยากทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคม การปกครองและการเมืองของประเทศเปน

                  อยางมาก จึงเปนความจำเปนอยางยิ่งที่รัฐจะตองดำเนินการแกไขปญหาดังกลาวโดยดวนที่สุด
                  โดยวิธีการปฏิรูปที่ดินเพื่อชวยใหเกษตรกรมีที่ดินทำกินและใหการใชที่ดินเกิดประโยชนมากที่สุดพรอม
                  กับการจัดระบบการผลิต และจำหนายผลิตผลเกษตรกรรมเพื่อใหความเปนธรรมแกเกษตรกร ทั้งนี้

                  เพื่อเปนการสนองแนวนโยบายแหงรัฐในการลดความเหลื่อมล้ำในฐานะของบุคคลในทางเศรษฐกิจและ
                  สังคมตามที่ไดกำหนดไวในรัฐธรรมนูญ จึงจำเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้นและกฎหมายฉบับนี้ยังได
                  กำหนดใหเกษตรกรผูที่ไดรับสิทธิ์ในที่ดินไมสามารถแบงแยกหรือโอนใหผูอื่นได ยกเวนเปนมรดกตกทอด
                  แกทายาท

                            3) พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2531 (ฉบับที่ 50)
                  กฎหมายฉบับนี้ไดกำหนดใหมีผังเมืองสองชนิดเพื่อประโยชนในการพัฒนาเมืองหรือชนบท คือ
                  ผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ โดยผังเมืองรวมเปนแผนสำหรับการพัฒนาทั้งเมืองและชนบทรวมกัน
                  โดยการกำหนดเขตการใชที่ดินใหแตละเขตใชประโยชนในกิจกรรมใดไดบางเพื่อใหเกิดความเหมาะสม

                  ที่สุดการใชที่ดินในบริเวณที่อยูในเขตผังเมืองรวมเมื่อประกาศใชผังเมืองรวมในพื้นที่ใดแลวหากผูใดฝาฝน
                  จะมีโทษทางอาญา การจัดทำผังเมืองรวมจะตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในทองถิ่น
                  ไมนอยกวา 1 ครั้ง จึงจะประกาศกฎกระทรวงใชผังเมืองนั้นได สวนผังเมืองเฉพาะมีความละเอียดและ
                  จำกัดการใชที่ดินของประชาชนในทองถิ่นมากกวาขอกำหนดการใชที่ดินในผังเมืองรวม ซึ่งบางครั้งอาจมี

                  ความจำเปนตองเวนคืนที่ดินหรืออสังหาริมทรัพยดวย การจัดทำผังเมืองเฉพาะตองจัดใหมีการรับฟง
                  ความคิดเห็นของประชาชนในทองถิ่นไมนอยกวา 2 ครั้ง และดำเนินการตราพระราชบัญญัติใชผังเมือง
                  เฉพาะหากผูใดฝาฝนจะมีโทษทางอาญา
                            4) พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติ

                  ฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526 ไดใชบังคับมาเปนเวลานานแลวมีบทบัญญัติ
                  บางประการไมเหมาะสมกับสภาวการณในปจจุบัน และโดยที่ปจจุบันมีปญหาความเสื่อมโทรมของดินเพราะ
                  ไมมีการอนุรักษดินและน้ำทำใหเกิดการชะลางพังทลายของดินกอใหเกิดความเสียหายตอ
                  เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งไมมีบทบัญญัติใหหนวยงานของรัฐสามารถเขาไปดำเนินการปองกันรักษา

                  สภาพพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการเกิดแผนดินถลม และเกิดการชะลางพังทลายของดินอยางรุนแรง และ
                  เพื่อใหการใชที่ดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดสมควรกำหนดมาตรการทาง
                  กฎหมายที่เหมาะสมเกี่ยวกับการสำรวจความอุดมสมบูรณของดินตามธรรมชาติ ความเหมาะสม

                  แกการใชประโยชนที่ดิน และการกำหนดการอนุรักษดินและน้ำ การวิเคราะหตรวจสอบตัวอยางดิน
                  หรือการปรับปรุงดินหรือที่ดิน ตลอดจนกำหนดมาตรการหามกระทำการใด ๆ รวมถึงการทำใหที่ดินเกิด
                  การปนเปอนของสารเคมีหรือวัตถุอื่นใด
                            ตามพระราชบัญญัติ “การพัฒนาที่ดิน”หมายความวา การกระทำใด ๆ ตอดินหรือที่ดิน
                  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดินหรือที่ดิน หรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหสูงขึ้น และ

                  หมายความรวมถึงการปรับปรุงดินหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ หรือขาดความ
                  อุดมสมบูรณ เพราะการใชประโยชนและการอนุรักษดินและน้ำเพื่อรักษาดุลธรรมชาติหรือเพื่อ
                  ความเหมาะสมในการใชที่ดินเพื่อเกษตรกรรม







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130