Page 124 - Mae Klong Basin
P. 124

3-90





                              (2) พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 2 เปนพื้นที่ที่เหมาะตอการเปนตนน้ำลำธารในระดับ

                  รองจากพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 1 สามารถใชเพื่อประโยชนที่สำคัญอยางอื่นได เชน การทำเหมืองแร
                  เปนตน ซึ่งมติคณะรัฐมนตรีกำหนดใหใชพื้นที่ในกิจกรรมปาไม เหมืองแร แตตองควบคุมวิธีการปฏิบัติใน
                  การใชที่ดินอยางเขมงวด และการใชที่ดินเพื่อกิจกรรมทางดานการเกษตรกรรม ควรหลีกเลี่ยงอยางเด็ดขาด

                  ในพื้นที่ลุมน้ำแมกลอง มีพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 2 เนื้อที่ 2,354,559 ไร หรือรอยละ 12.46
                  ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                              (3) พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 3 เปนพื้นที่ที่สามารถใชประโยชนไดทั้งการทำไม
                  เหมืองแร และการปลูกพืชกสิกรรมประเภทไมยืนตน แตตองมีการควบคุมวิธีการปฏิบัติอยางเขมงวดให

                  เปนไปตามหลักอนุรักษดินและน้ำ ในพื้นที่ลุมน้ำแมกลอง มีพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 3 เนื้อที่ 2,432,187 ไร
                  หรือรอยละ 12.87 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                              (4) พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 4 สภาพปาของลุมน้ำชั้นนี้ไดถูกบุกรุกแผวถาง
                  เพื่อใชประโยชนในกิจการพืชไรเปนสวนใหญ มติคณะรัฐมนตรีกำหนดใหใชพื้นที่เพื่อการเกษตรกรรม

                  แตตองเปนบริเวณที่มีความลาดชันไมเกิน 28 เปอรเซ็นต และตองมีการวางแผนใชที่ดินตามมาตรการ
                  การอนุรักษดินและน้ำ ในพื้นที่ลุมน้ำแมกลอง มีพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 4 เนื้อที่ 2,834,566 ไร
                  หรือรอยละ 15.00 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                              (5) พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 5 สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเปนพื้นที่ราบเรียบหรือที่ลุม

                  หรือเนินลาดเอียงเล็กนอย และสวนใหญปาไมไดถูกแผวถางเพื่อประโยชนดานเกษตรกรรม โดยเฉพาะ
                  การทำนาและกิจการอื่นไปแลว ในพื้นที่ลุมน้ำแมกลอง มีพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 5 เนื้อที่ 3,070,487 ไร
                  หรือรอยละ 16.25 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                        3.10.2 กฎหมายที่เกี่ยวของกับทรัพยากรดิน

                            กฎหมายดานทรัพยากรดินเปนกฎหมายที่เกี่ยวของทั้งดานสิทธิ์ในที่ดิน การจัดที่ดิน
                  การใชที่ดิน รวมถึงการอนุรักษดินและน้ำ ไดแก
                            1) ประมวลกฎหมายที่ดิน 2497 เปนกฎหมายที่เกี่ยวของกับสิทธิ์ในที่ดิน โดยวางหลักเกณฑ
                  เกี่ยวกับการขอเอกสารแสดงการครอบครองหรือสิทธิในที่ดินรวมทั้งหลักเกณฑในการออกเอกสาร
                  ดังกลาว เชน โฉนดและหนังสือรับรองการทำประโยชนประมวลกฎหมายที่ดินใหอำนาจอธิบดีกรมที่ดิน

                  หรือผูที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายใหเปนผูดูแลที่ดินของรัฐที่มิไดอยูในความดูแลของ
                  หนวยงานใดหนวยงานหนึ่งโดยเฉพาะ เชน ที่รกรางวางเปลา ที่ภูเขา ซึ่งการเขาครอบครองหรือเขาทำ
                  ประโยชนตองไดรับอนุญาตจากอธิบดีกรมที่ดินหรือผูที่ไดรับมอบหมายเสียกอน นอกจากนี้ยังไดกำหนด

                  บทลงโทษผูฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมาย
                            2) พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 แกไขเพิ่มเติม
                  (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2519 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2532 เหตุผลในการประกาศใช
                  พระราชบัญญัติฉบับนี้คือประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญมีอาชีพในการเกษตร

                  ที่ดินจึงเปนปจจัยสำคัญและเปนรากฐานเบื้องตนของการผลิตทางเกษตรกรรม แตปจจุบันปรากฏวา
                  เกษตรกรกำลังประสบความเดือดรอนเนื่องจากตองสูญเสียสิทธิ์ในที่ดินและกลายเปนผูเชาที่ดิน
                  ตองเสียคาเชาที่ดินในอัตราสูงเกินสมควร ที่ดินขาดการบำรุงรักษาจึงทำใหอัตราผลิตทางเกษตรกรรมอยู
                  ในระดับต่ำเกษตรกรไมไดรับความเปนธรรมและเสียเปรียบจากระบบการเชาที่ดินและการจำหนายผลิตผลตลอดมา






                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129