Page 126 - Mae Klong Basin
P. 126

3-92





                        3.10.3 กฎหมายดานการจัดการสิ่งแวดลอม

                            กฎหมายนี้เกี่ยวของกับการใชทรัพยากร เพื่อใหการใชทรัพยากรเปนไปอยางถูกตอง และ
                  เปนการอนุรักษทรัพยากรใหคงอยูอยางยั่งยืน
                            1) พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535

                  มีความเกี่ยวของกับทรัพยากรธรรมชาติในทุกดาน เพื่อใหมีการใชทรัพยากรตาง ๆ อยางถูกตองและสมดุล
                  แกไขความเสื่อมโทรมของทรัพยากรอันเนื่องมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติที่เติบโตอยางรวดเร็ว
                  ซึ่งตองพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยางจำกัด พระราชบัญญัติฉบับนี้ไดกำหนดใหมีคณะกรรมการ
                  สิ่งแวดลอมแหงชาติขึ้น เพื่อกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม และกำกับดูแลใหมีการออกพระราชกฤษฎีกา

                  กฎกระทรวงขอบังคับ ขอบัญญัติทองถิ่น ประกาศระเบียบและคำสั่งที่จำเปนเพื่อใหกฎหมายมีความเปน
                  ระบบโดยสมบูรณ พระราชบัญญัติฉบับนี้ยังกำหนดมาตรฐานสิ่งแวดลอม เชนมาตรฐานคุณภาพแมน้ำ
                  ลำคลอง มาตรฐานน้ำบาดาล มาตรฐานคุณภาพอากาศเสียง และสิ่งแวดลอมในเรื่องอื่น ๆ
                  กำหนดหลักเกณฑในการทำรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมสำหรับโครงการหรือกิจการที่

                  ตองจัดทำรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมทั้งของสวนราชการและเอกชน กำหนดเขตควบคุมมลพิษ
                  เพื่อใหดำเนินการควบคุมลด และขจัดมลพิษ นอกจากนี้ยังมีมาตรการสงเสริมจากหนวยงานราชการ
                  สำหรับการใหความรวมมือในการจัดตั้งระบบกำจัดของเสียในดานอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชและวัสดุจำเปน
                  โดยการชวยเหลือดานอากรขาเขาสำหรับอุปกรณเหลานี้ สำหรับโทษของการฝาฝนพระราชบัญญัติฉบับ

                  นี้มีโทษทั้งทางแพงและทางอาญา
                            2) พระราชบัญญัติโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2535 โดยควบคุมการใชที่ดิน
                  เพื่อการอุตสาหกรรม โดยกำหนดขนาดของเครื่องจักรและคนงานขั้นต่ำอยูในขายควบคุม
                  โดยใหอำนาจแกรัฐมนตรีในการควบคุมการประกอบกิจการในดานที่ตั้งสภาพแวดลอมลักษณะอาคาร

                  สภาพภายในโรงงาน การปลอยของเสียมลพิษ ความปลอดภัยเพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ
                  สิ่งแวดลอมความมั่นคง ความปลอดภัยของประเทศหรือของสาธารณะ
                        3.10.4 นโยบายที่เกี่ยวของกับการจัดทำเขตการใชที่ดินระดับลุมน้ำ
                            1) พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พ.ศ. 2561 มาตรา 28

                  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตามประกาศพระราชโองการ เรื่องแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
                  สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564) ลงวันที่ 29 ธันวาคม พุทธศักราช 2559 ที่ใชอยูในวัน
                  กอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหถือวาเปนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตาม

                  พระราชบัญญัตินี้ และใหยังคงใชไดตอไปจนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565เพื่อใหสอดคลองกรอบ
                  ระยะเวลากับยุทธศาสตรชาติ ระยะที่ 1 สิ้นสุดในป 2565 (สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2561)
                  มีแนวทางการพัฒนาที่เกี่ยวของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งทางสำนักงานสภาพัฒนาการ
                  เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2558) ไดนอมนำหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนปรัชญานำทาง
                  ในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9-11

                  มีความสำคัญในการวางรากฐานการพัฒนาประเทศไปสูสังคมที่มีความสุขอยางมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
                  สอดคลองตามยุทธศาสตรชาติ 20 ป ที่เปนกรอบการพัฒนาประเทศในระยะยาว รัฐบาลมีนโยบายใน
                  การสรางความมั่นคงและเขมแข็งใหกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งเรงสรางสังคมที่มีคุณภาพ

                  โดยการขจัดอุปสรรคตาง ๆ ที่มีตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131