Page 203 - Phetchaburi
P. 203

5-9





                  เปนที่รกราง แตเนื่องจากพื้นที่นี้มีลูกไมของพันธุไมดั้งเดิม ถาไมมีการรบกวนพื้นที่โดยเฉพาะอยางยิ่งกับ

                  การใชที่ดินดังกลาวเพื่อการเกษตรกรรม สภาพปาไมก็สามารถกลับฟนตัวขึ้นมาเปนปาไมที่สมบูรณ
                  ไดอีกครั้ง
                                        ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่

                                        ชุมชนควรมีมาตรการในการปองกันรักษาสภาพปาไมที่สมบูรณ
                  ใหคงสภาพดังกลาวไว เพื่อใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ และการใชประโยชนรวมกันของพื้นที่
                  ในขณะเดียวกันหนวยงานของรัฐบาลที่มีหนาที่รับผิดชอบควรเรงดำเนินการสำรวจและวางมาตรการ
                  ปองกันและรักษาสภาพปาใหสมบูรณ

                            3.7.2.2  เขตเกษตรกรรม มีเนื้อที่ 976,299 ไร หรือรอยละ 25.09 ของพื้นที่จังหวัด
                  เพชรบุรี พื้นที่เขตการเกษตรนี้เปนบริเวณที่อยูนอกเขตที่มีการประกาศเปนเขตปาไมตามกฎหมาย เขตนี้
                  เกษตรกรมีการใชพื้นที่เพื่อทำการเกษตร เชน นาขาว พืชไร ไมผล พืชผัก หรือไมยืนตน แตเมื่อพิจารณา
                  ถึงความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการเกษตรและทิศทางการพัฒนาพื้นที่นี้ สามารถแบงพื้นที่เขตการเกษตร

                  เปน 3 เขต คือ เขตเกษตรพัฒนา เขตเกษตรกาวหนา และเขตเรงรัดพัฒนาการเกษตร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                  1) เขตการเกษตรชั้นดี พื้นที่ของเขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมในพื้นที่
                  ชลประทาน และสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indications หรือ GI) มีเนื้อที่ 471,152 ไร
                  หรือรอยละ 12.11 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                  เปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลวหรือดีปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ
                  ปานกลางถึงสูง และเปนพื้นที่ที่มีการพัฒนาระบบน้ำชลประทานหรือระบบสูบน้ำดวยไฟฟาเพื่อการเพาะปลูก
                  ดังนั้น ในชวงฤดูแลงหลังจากการเก็บเกี่ยวขาวนาป ในพื้นที่ที่มีปริมาณน้ำเพียงพอ เกษตรกรสามารถ
                  ปลูกพืชครั้งที่สองโดยเฉพาะขาวนาปรัง หรือพืชไร เชน ขาวโพด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว เปนตน พื้นที่

                  เขตเกษตรกรรมชั้นดีสามารถแบงเขตการใชที่ดินเพื่อการผลิตไดเปน 8 เขต ตามศักยภาพและ
                  ความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                    (1)   เขตทำนา (หนวยแผนที่ 211) มีเนื้อที่ 325,941 ไร หรือรอยละ
                  8.38 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบเปนดินลึกปานกลาง

                  ถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง เขตนี้
                  กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกขาวโดยน้ำชลประทานเปนหลัก เกษตรกรสามารถเปลี่ยน
                  การใชที่ดินจากการปลูกขาวมาเปนการทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอินทรียได และมีสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร

                                    (2)   เขตปลูกพืชไร (หนวยแผนที่ 212) มีเนื้อ 9,900 ไร หรือรอยละ
                  0.25 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางเรียบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                  ดินที่พบเปนดินลึกถึงลึกมาก มีการระบายน้ำดี ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง
                  สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญเปนพืชไร เชน มันสำปะหลัง ออยโรงงาน เปนตน พื้นที่เขตนี้
                  กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไรพื้นที่ที่มีการพัฒนาระบบน้ำชลประทานแตระบบสงน้ำ

                  ไมทั่วถึงหากมีระบบสงน้ำแลว หรือมีสระน้ำในไรนา เกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใชที่ดินจากการปลูกพืชไร
                  มาเปนการปลูกไมผลหรือพืชผัก ทำเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียได
                                    (3)   เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 213) มีเนื้อที่ 70,977 ไร หรือรอยละ

                  1.82 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208