Page 206 - Phetchaburi
P. 206

5-12





                                    (1)   เขตทำนา (หนวยแผนที่ 221) มีเนื้อที่ 61,213 ไร หรือรอยละ

                  1.57 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบเปนดินลึกปานกลาง
                  ถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลวหรือคอนขางเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง
                  เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกขาวโดยอาศัยน้ำฝนเปนหลัก เกษตรกรสามารถเปลี่ยน

                  การใชที่ดินจากการปลูกขาวมาเปนการทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอินทรียได
                                    (2)   เขตปลูกพืชไร (หนวยแผนที่ 222) มีเนื้อที่ 129,651 ไร หรือรอยละ
                  3.33 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางเรียบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                  ดินที่พบเปนดินลึกถึงลึกมาก มีการระบายน้ำดี ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง

                  สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญเปนพืชไร เชน มันสำปะหลัง ออยโรงงาน เปนตน พื้นที่เขตนี้
                  กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไร หากมีแหลงน้ำในไรนาเกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใช
                  ที่ดินจากการปลูกพืชไรมาเปนการปลูกไมผลหรือพืชผัก ทำเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียได
                                    (3)   เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 223) มีเนื้อที่ 88,418 ไร หรือรอยละ

                  2.27 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                  เปนดินลึก มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดิน
                  ในปจจุบันสวนใหญเปนไมผล ซึ่งไมผลที่พบมากคือ มะมวง สมโอ และกลวยหอมทอง เปนตน
                  ไมยืนตนผสม หรือพืชผัก พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือพืชผัก สามารถ

                  ปรับเปลี่ยนทำเกษตรผสมผสาน
                                    (4)   เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 224) มีเนื้อที่ 60,845 ไร
                  หรือรอยละ 1.56 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึง
                  ลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึก มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง

                  สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญไมยืนตน เชน สะเดา ตาลโตนด เปนตน มีไมผลผสมรือพืชผัก
                  พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือพืชผัก สามารถปรับเปลี่ยนทำเกษตร
                  ผสมผสาน
                                    (5)   เขตปลูกพืชสวน (หนวยแผนที่ 215) มีเนื้อที่ 9,639 ไร หรือรอยละ

                  0.25 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                  เปนดินลึก มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดิน
                  ในปจจุบันสวนใหญเปนพืชผักหรือไมประดับ ซึ่งที่พบมาก เชน ผักกาด และฟกทอง เปนตน ที่เขตนี้

                  มีศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือไมยืนตน สามารถปรับเปลี่ยนทำเกษตรผสมผสาน
                                    (6)   เขตปศุสัตว (หนวยแผนที่ 228) มีเนื้อที่ 107,091 ไร หรือรอยละ
                  2.75 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี ในเขตนี้สภาพการใชที่ดินที่พบเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวและดินมีความอุดม
                  สมบูรณปานกลางถึงต่ำ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน หญาเปนอาหารของ
                  สัตวหลายชนิด ไมเฉพาะแตวัว ควาย แพะ แกะ มา ซึ่งเปนสัตวใหญ สัตวตัวเล็กๆ เชน กระตาย

                  หรือหนูบางชนิด ก็กินหญาเชนเดียวกัน บางครั้งแมวหรือสุนัขเล็มยอดหญาเพื่อเปนยารักษาตัวสัตวเอง
                  การปลูกหญาทำทุงเลี้ยงสัตวใหมีคุณภาพที่เอื้อประโยชนแกสัตว เปนเรื่องที่ใชความรู ทั้งดานพืช ดิน ปุย
                  รวมทั้งการเลี้ยง และดูแลสัตวดวย พื้นที่ที่จะใชปลูก อาจทำไดในพื้นที่ขนาดตางๆ เชน อาจปลูกแบบ

                  หญาสวนครัว ในพื้นที่ที่วาง สำหรับตัดใหสัตวกิน หรือปลูกเปนทุงใหญ สำหรับปลอยสัตวเขาไปแทะเล็ม
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211