Page 207 - Phetchaburi
P. 207

5-13





                  หรืออาจปลูกผสมผสานแซมในสวนไมผล เชนตาลโตนด มะพราว อินทผาลัม แลวเลี้ยงสัตวควบคูกันไป

                  ทำใหเกิดรายไดเสริมแกผูเลี้ยงสัตวไปในตัว นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมดานการปลูกพืชแลว
                  เกษตรกรยังเลี้ยงสัตวควบคูกันไปดวย โดยสัตวที่นิยมเลี้ยง ไดแก โค หรือกระบือ วัตถุประสงคของ
                  การเลี้ยงที่สำคัญคือ เพื่อใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพื่อจำหนายและเลี้ยงไวใชแรงงาน

                  ซึ่งมีความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้เพื่อเปนแหลงอาหารของสัตวดังกลาว
                                    (7)   เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ (หนวยแผนที่ 229) มีเนื้อที่ 21,658 ไร
                  หรือรอยละ 0.56 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                  ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึก มีการระบายน้ำคอนขางดี การเลี้ยงสัตวน้ำนับไดวามีความสำคัญในวัฏจักร

                  ของสัตวน้ำ และเปนเวลาที่ยาวนานกวาการเพาะและอนุบาลสัตวน้ำ การเลี้ยงที่ดีจำเปนตองอาศัย
                  การดูแลใหถูกวิธี เลี้ยงถูกขั้นตอนและประหยัดตนทุน ผลิตสัตวน้ำที่มีคุณภาพ สามารถจำหนายไดใน
                  ราคาที่ดีสงผลใหประสบความสำเร็จในการเลี้ยง ซึ่งจะมีขั้นตอนระบบ ประเภทและลักษณะของ
                  การเลี้ยงแตกตางกันออกไป นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมปลูกพืชแลว เกษตรกรยังทำประมงควบคูกัน

                  ไปดวย โดยปลาที่นิยมเลี้ยงไดแกปลานิล ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาสวาย วัตถุประสงคของการเลี้ยง
                  ที่สำคัญคือ เพื่อใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพื่อจำหนายในทองถิ่น ซึ่งมีความจำเปนตองมี
                  พื้นที่ในเขตนี้เพื่อเปนแหลงอาหารประเภทโปรตีน
                                    ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่

                                    - ควรปรับปรุงบำรุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เชน ปุยหมัก ปุยคอก
                  หรือปุยพืชสด เพื่อชวยปรับปรุงโครงสรางของดินเพิ่มการอุมน้ำของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เปน
                  ประโยชนสำหรับพืช รวมกับการใสปุยวิทยาศาสตรในอัตราสวนที่เหมาะสม
                                    - ควรมีการปรับสภาพพื้นที่ในแปลงนาขาว เพื่อควบคุมระดับการขังของน้ำ

                  ในระหวางการเพาะปลูกใหเหมาะสม
                                    - ปรับปรุงประสิทธิภาพแหลงน้ำตามธรรมชาติใหมีการกักเก็บน้ำไดดีขึ้น
                                    - ควรเพิ่มกิจกรรมการผลิต พืช ปศุสัตว ประมง ใหมีความเกื้อกูลกัน
                                    - พิจารณาดำเนินการพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในพื้นที่ รวมทั้งการปรับปรุง

                  ประสิทธิภาพแหลงน้ำตามธรรมชาติใหมีการกักเก็บน้ำไดดีขึ้น
                                    - ควรพัฒนาสระน้ำในไรที่มีขนาดพื้นที่ถือครอง เทากับหรือมากกวา 10 ไร
                                    - ควรมีการขุดลอกคลองและเพิ่มทอลอดตามถนนสายหลักที่สรางขวาง

                  ทางเดินน้ำ เพื่อการระบายน้ำในพื้นที่ปลูกขาวเปนไปอยางรวดเร็ว ไมใหเกิดน้ำแชขังเปนเวลานานจน
                  ขาวเสียหาย
                                  3) เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่ำ มีเนื้อที่ 26,417 ไร หรือรอยละ
                  0.68 ของพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่เขตนี้ถูกกำหนดใหเปนเขตการเกษตร ที่ตองมีการดำเนินการแกไข
                  ปญหาที่เปนขอจำกัดของการใชที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตางๆ เชน ดินคอนขางเปนดินทราย ดินตื้น

                  เนื้อดินปนกรวด ซึ่งมีผลตอความสามารถในการอุมน้ำที่เปนประโยชนตอพืชต่ำ รวมทั้งปริมาณ
                  ธาตุอาหารพืชในดินมีปริมาณต่ำ โดยผลการประเมินความเหมาะสมของที่ดินเขตนี้สำหรับการปลูกขาว
                  และพืชไรอยูในระดับเหมาะสมเล็กนอย จากขอจำกัดการใชที่ดินดังกลาวขางตนจึงจำเปนอยางยิ่ง

                  ในการพัฒนาปรับปรุงและมีมาตรการเฉพาะเพื่อเพิ่มผลผลิตการเกษตรกรรมในพื้นที่ใหสูงขึ้นรวมถึง
   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212