Page 197 - Phetchaburi
P. 197

5-3





                  สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกพื้นที่ โดยการตัดตนไมเพื่อใชประโยชนและนำที่ดินมาใช

                  ดานเกษตรกรรมในระยะเวลาหนึ่ง เมื่อดินเสื่อมสภาพลง ผลผลิตทางการเกษตรกรรมเริ่มลดลงจนไมคุม
                  กับการลงทุน เกษตรกรที่ครอบครองที่ดินก็ปลอยใหเปนที่รกราง แตเนื่องจากพื้นที่นี้มีลูกไมของพันธุไมดั้งเดิม
                  ซึ่งสามารถเจริญเติบโตและปรับสภาพไดระดับหนึ่ง ถาไมมีการรบกวนพื้นที่ดังกลาวโดยเฉพาะการใชที่ดิน

                  เพื่อการเกษตรกรรม สภาพปาที่เสื่อมโทรมสามารถฟนตัวขึ้นมาเปนปาไมที่สมบูรณไดอีกครั้ง พื้นที่เขตนี้
                  พบบริเวณทางตะวันตกและดานตะวันออกของพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี
                                        แนวทางการพัฒนา
                                        - ใหหนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่

                  30 มิถุนายน 2541 ใหความเห็นชอบกับ “มาตรการและแนวทางแกไขปญหาที่ดินพื้นที่ปาไมและ
                  ใหดำเนินการตอไป” โดยมุงเนนแกไขปญหาในพื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมาย เชน อุทยานแหงชาติ
                  เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปา และปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี (พื้นที่ลุมน้ำชั้นที่ 1 และ
                  ชั้นที่ 2 กำหนดใหกรมปาไมสำรวจพื้นที่ที่มีการครอบครองใหชัดเจน

                                        - ใหหนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่
                  16 กันยายน 2540 เรื่อง “แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและปาไมระดับพื้นที่” เพื่อใหเกิดการบริหาร
                  จัดการทรัพยากรที่ดินและปาไมอยางมีระบบโดยเปนการอนุรักษควบคูกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยสงวน
                  รักษาทรัพยากรปาไมที่เหลืออยูและฟนฟูทรัพยากรปาไมที่เสื่อมสภาพ ทั้งนี้ อยูบนหลักการลดปญหา

                  ความขัดแยงการใชทรัพยากรในพื้นที่
                                        - ใชมาตรการทางกฎหมายเปนเครื่องมือในการคุมครองและอนุรักษ
                  พื้นที่ โดยใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการควบคุม ปองกันและปราบปรามการบุกรุกพื้นที่ เพื่อนำ
                  กลับมาใชเพื่อการเกษตรกรรมอยางเครงครัดและตอเนื่อง โดยมีบทลงโทษตามกฎหมายที่กำหนดไว

                                        - หนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดทำแนวกันไฟ เพื่อปองกันไฟปาที่อาจ
                  เกิดขึ้นไดจากธรรมชาติหรือกิจกรรมจากมนุษย เพื่อใหปามีการฟนตัวตามธรรมชาติอยางรวดเร็ว
                                        - สงเสริมและรณรงคใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคา
                  ของทรัพยากรปาไม และสรางความตระหนักในการมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาในพื้นที่

                                    (3)   เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไข (หนวยแผนที่ 113)
                  มีเนื้อที่ 496,179 ไร หรือรอยละ 12.75 ของเนื้อที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่เขตนี้อยูในเขตปาตามกฎหมาย
                  ดังนั้นมาตรการการใชที่ดินดังกลาวควรเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องมาตรการและแนวทางการแกไข

                  ปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 ซึ่งมาตรการการใชที่ดินดังกลาวของเขตนี้
                  อยูภายใตขอกำหนดที่ตองสงวนพื้นที่เพื่อการอนุรักษ ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเปนปาสมบูรณ
                  ตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกที่ดิน มีการตัดตนไมเพื่อใชประโยชนและนำที่ดินมาใชดานการเกษตรกรรม
                  อยางตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน โดยสวนใหญเกษตรกรใชพื้นที่เพื่อการปลูกพืชไรหรือทำไรเลื่อนลอย
                  แตเนื่องจากขอจำกัดของลักษณะทางกายภาพของดินและสภาพภูมิประเทศในเขตนี้ไมเหมาะสม

                  สำหรับการเกษตรกรรม ทั้งนี้เนื่องจากดินที่พบสวนใหญเปนดินตื้นหรือสภาพพื้นที่มีความลาดชัน
                  มากกวา 35 เปอรเซ็นต ถามีการใชพื้นที่อยางผิดวิธีอาจสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมได โดยเฉพาะ
                  ปญหาดินถลม หรือเกิดการชะลางพังทลายของดิน ดังนั้น จึงตองเรงดำเนินการฟนฟูสภาพพื้นที่ในเขตนี้

                  ใหกลับมาเปนสภาพปาไมที่สมบูรณตอไป
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202