Page 21 - Chumphon
P. 21

บทที่ 2

                                                       ขอมูลทั่วไป

                  2.1  ประวัติและเอกลักษณ (สำนักงานจังหวัดชุมพร, 2564ก)

                        ความเปนมาของจังหวัดชุมพร ชุมพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแตป พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเปนเมืองสิบ
                  สองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใชรูปแพะเปนตราเมือง และเปนเมืองหนาดานฝายเหนือ
                  เพราะอยูตอนบนของภาคใต ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผนดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏใน
                  กฎหมายตราสามดวงวา เมืองชุมพรเปนเมืองตรี อาณาจักรฝายใตของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา

                  ในชวงนี้ชนชาติจาม แหงราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุมนี้อพยพเขาสูกรุง
                  ศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏวามี "อาสาจาม" ในแผนดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา สวน
                  หนึ่งตองมารักษาดานเมืองชุมพร ซึ่งเปนเมืองตรี และตั้งชาวจาม เปนเจาเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้
                  ขึ้นตรงตอกรุงศรีอยุธยา เนื่องดวย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เชน กองอาสาจาม

                  เปนทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใชราชสำนักมานาน และเกงการคามาหลายพันป และ
                  ตอมาระหวาง ป พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผนดิน พระเจาปราสาททองแหงราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา
                  ไดกวาดตอนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยูในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี

                  อยูในประเทศลาว มาเปนพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม
                  และเมืองทาการคาสำคัญ ตั้งแตนั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือ
                  ศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อคาขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แตชาวจามที่มาอยูเมืองชุมพร
                  ตอมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แตเมื่อเวลาผานไปกวา 500 -600 ป
                  ที่ชาวจาม เขาปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไมเหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เชน ขาวตม

                  ใบพอ ที่ใชในงานมงคล เชนเดียวกับชาวมุสลิม บานกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา
                  ก็สูญหายไมไดใชในงานมงคลแลว
                        คำวา ชุมพร มีผูสันนิษฐานวานาจะมาจากคำวา “ชุมนุมพล” เนื่องจากเปนเมืองหนาดาน

                  การเดินทัพไมวาจะมาจากฝายเหนือหรือวาฝายใต ลวนเขามาตั้งคายชุมนุมพลกันที่นี่ จึงเรียกจุดนี้วา
                  “ชุมนุมพล” ตอมาเพี้ยนเปน ชุมพร อีกประการหนึ่ง ในการเดินทางไปทำศึกสงครามของแมทัพนายกอง
                  ตั้งแตสมัยโบราณมา เมื่อจะเคลื่อนพลจะตองทำพิธีสงทัพโดยการบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ขอใหไดรับชัยชนะ
                  ในการสูรบ เปนการบำรุงขวัญทหารในสถานที่ชุมนุม เพื่อรับพรเชนนี้ ตรงกับความหมายชุมนุมพรหรือ

                  ประชุมพร ซึ่งทั้งสองคำนี้อาจเปนตนเหตุของคำวา “ชุมนุมพร” เชนเดียวกัน แตอีกทางหนึ่งสันนิษฐาน
                  วา นาจะไดมาจากชื่อพันธุไมธรรมชาติในทองถิ่น ไดแก ตนมะเดื่อชุมพร เพราะที่ตั้งของเมืองชุมพรนั้น
                  อยูบนฝงแมน้ำทาตะเภา มีตนมะเดื่อชุมพรขึ้นอยูมากมาย ตนมะเดื่อชุมพรจึงเปนสัญลักษณสวนหนึ่ง
                  ของ ตราประจำจังหวัดชุมพร

                        สมัยกรุงสุโขทัย
                        เมืองชุมพรเปนเมืองมีเจาเมืองปกครองมายาวนาน ในสมัยสุโขทัยนั้น เปนเมืองขึ้นตออาณาจักร
                  นครศรีธรรมราช ในฐานะเมืองอาณานิคม และเปนเมืองหนาดาน ฝายเหนือ หรือเมืองปมะแม ถือตราแพะ
                  เปน 1 ในเมือง 12 เมือง หรือเรียกวา เมืองสิบสองนักษัตร ของอาณาจักรนครศรีธรรมราช
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26