Page 22 - Chumphon
P. 22

2-2




                        สมัยกรุงศรีอยุธยา

                        เมืองชุมพรในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น เมื่อกรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ ในแผนดินสมเด็จพระบรมไตร
                  โลกนาถ ไดแผขยายอาณานิคมลงทางใต ชาวจาม มาอยูที่เมืองชุมพร เนื่องดวย ชาวจาม
                  มีความสามารถ การคา การเดินเรือ และการรบ จะเห็นไดจากทหาร อาสาจาม เปนทหารชั้นดี ที่รับใช

                  ราชสำนักตั้งแตกรุงศรีอยุธยา มีความสามารถการรบ และการเดินเรือ อยางเชี่ยวชาญ ตั้งแตนั้นจนทำให
                  เมืองชุมพร ตองขึ้นตออาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในฐานะเมืองอาณานิคม และเปนเมืองหนาดาน ฝายใต
                  และเปนเมืองทาสำคัญทางการคาของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา เมืองชุมพรจึงมีบทบาทเปนเมืองหนาดาน
                  มาแตโบราณในอาณาจักรนครศรีธรรมราช และอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ทำใหไมมีการกอสรางวัตถุถาวร

                  ได ดังนั้นชาวชุมพรจึงเปนลูกหลานนักรบที่แทจริง และควรใหสมญานามบรรพบุรุษวา “วีรบุรุษนักรบ
                  แหงคอคอดกระ ดินแดนสองฝงทะเล" จากการทำศึกสงครามอยางตอเนื่องในแตละยุคแตละสมัย
                        สมัยกรุงธนบุรี
                        เมืองชุมพรในสมัยกรุงธนบุรีไมคอยมีบทบาทมากนักเพราะอยูในภาวะสงครามของสมเด็จพระเจา

                  ตากสินมหาราช ทั้งรัชกาล และสืบเนื่องจาก พระชุมพร (พวย) นำกำลังกองทัพบก กองทัพเรือ
                  เมืองชุมพร กำลังพลประมาณ 800 คน ไดสูญเสียจากการรบในชวงกรุงแตกที่ คายบางกุง จากการสง
                  กำลังเขารักษาพระนครศรีอยุธยา ตั้งแตป พ.ศ. 2305-2308 และเขารวมรบเพื่อตีเมืองนครศรีธรรมราช
                  จึงทำใหเกิดการลาของชาวเมืองชุมพร

                        สมัยกรุงรัตนโกสินทร
                        ตั้งแตแผนดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
                  พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว และแผนดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
                  เมืองชุมพรเปนเมืองทาสำคัญการคาขาย จนถึงในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

                  ชาวจามยังมีบทบาทในดินแดนแทบนี้ ตอมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ
                  ใหจัดตั้งเปน มณฑลชุมพร ตอมามีการยุบการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลเปนจังหวัด ชุมพรจึงมี
                  ฐานะเปนจังหวัด และเมื่อ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ สามารถเดินเรือไดเอง ชาวจามก็หมดบทบาท
                  ลงในเวลาตอมา

                        ตราประจำจังหวัดชุมพร
                        ตราประจำจังหวัดชุมพร ประกอบไปดวยสวนสำคัญ 3 สวน ไดแก (1) ภาพคนยืน ซึ่งหมายถึง
                  เทวดาที่ประทานพรใหแกชาวเมืองและกองทัพที่กำลังจะออกไปทำศึก (2)ภาพตนมะเดื่อที่ขนาบอยูสองขาง

                  ซึ่งในจังหวัดชุมพรมีตนไมชนิดนี้อยูเปนจำนวนมาก รวมถึงเปนตนไมประจำจังหวัดชุมพรดวย และ
                  (3) ภาพคายและหอรบ หมายถึงจังหวัดนี้เคยเปนที่ชุมนุมของบรรดานักรบทั้งหลาย ซึ่งนัดใหมาพรอมกัน
                  ณ ที่แหงนี้ กอนที่จะเดินทัพออกไปสูรบกับขาศึก เพราะวาในสมัยโบราณชุมพรนั้นเปนเมืองหนาดาน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27