Page 115 - Chumphon
P. 115

3-43




                  เฉพาะหลุม ขุดหลุมปลูกใหกวางประมาณ 75x75x75 เซนติเมตร นำหนาดินหรือดินจากที่อื่นผสมกับปุย

                  คอกหรือปุยหมักรองกนหลุม
                                  -  มีการเขตกรรมที่เหมาะสม ไถพรวนดินใหนอยที่สุดเพื่อปองกันการชะลาง
                  พังทลายของดิน

                                  -  เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก หรือ
                  ปลูกพืชตระกูลถั่วแลวไถกลบเพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและน้ำใหแกดินและใช
                  ปุยเคมีรวมดวยตามความเหมาะสมกับชนิดพืชที่ปลูก
                                  -  การจัดการน้ำที่เหมาะสมจัดหาแหลงน้ำใหพอเพียงกับการเพาะปลูก และมี

                  การใหน้ำอยางมีประสิทธิภาพ เชน ใหน้ำแบบหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ำและ
                  เก็บรักษาความชื้นในดิน
                                  -  พื้นที่ที่มีความลาดชันควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ำ ไถพรวน และปลูก
                  พืชตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ ปลูกพืชคลุม โดยปลูกสลับกับแถวพืชหลักที่ปลูกไวเพื่อลด

                  การชะลางพังทลายของดินหรือปลูกหญาแฝก เปนตน
                                  -  ดินตื้นที่มีปฏิกิริยาดินเปนดาง การปลูกพืชในดินประเภทนี้ อาจมีปญหาการ
                  ขาดธาตุอาหารบางชนิด เชน ฟอสฟอรัส เหล็ก และแมงกานีส ดังนั้น การปลูกพืชในดินดังกลาว จึงควร
                  เลือกชนิดพืชที่เหมาะสมพืชที่ชอบสภาพดินกรด เชน ขาวโพด ถั่วลิสง ไมผลบางชนิด เชน ขนุน

                  นอยหนา และมะพราว
                                1.6  ดินอินทรีย มีเนื้อที่ 5,727 ไร หรือรอยละ 0.15 ของเนื้อที่จังหวัด พบในบริเวณที่
                  ลุมน้ำขังชายฝงทะเลของภาคใตและภาคตะวันออก ในชั้นดินอินทรียจะมีกรดฮิวมิค สวนใตชั้นดิน
                  อินทรียที่ระดับความลึกประมาณ 80-300 เซนติเมตร เปนดินเลนตะกอนน้ำทะเลสีเทาปนน้ำเงิน

                  มีสภาพเปนกรดรุนแรงมาก ดินอินทรียจึงจัดเปนดินที่มีศักยภาพในการกลายเปนดินกรดกำมะถัน
                  นอกจากนี้ดินอินทรียจะยุบตัว ติดไฟงาย แตดับยาก ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่โดยการระบาย
                  น้ำออกจากพรุมากเกินไป จะทำใหดินมีสภาพเปนกรดไดในภายหลัง และเสี่ยงตอการเกิดไฟไหม ทำให
                  พื้นที่ใชประโยชนไมได

                                แนวทางในการจัดการ
                                การใชประโยชนพื้นที่ดินอินทรีย ยังมีปญหาอยูมาก เนื่องจากการจัดการตองมีการ
                  ลงทุนสูง ในปจจุบันสนับสนุนใหปลูกไมพื้นเมืองในพื้นที่ เชน ตนปาลมสาคู และเสม็ดขาว ซึ่งเปนพืชที่

                  สามารถเจริญเติบโตไดดีและสามารถนำมาแปรรูปและใชประโยชนไดมากมาย อาทิเชน การนำลำตน
                  ปาลมสาคูเปนอาหารเลี้ยงสัตว การผลิตแปงสาคู การนำไมเสม็ดขาวแปรรูปเปนเฟอรนิเจอร การสกัด
                  น้ำมันหอมระเหยจากใบเสม็ด เปนตน
                                  -  การจัดการดินอินทรีย ที่มีการระบายน้ำออก เพื่อใชในพื้นที่ในการปลูกพืชนั้น
                  ดินเกิดปญหาเปนดินเปรี้ยวจัด ตองทำการปรับปรุงแกไข เชนเดียวกับการปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูก

                  พืชชนิดตาง ๆ โดยใชวัสดุปูน (ปูนโดโลไมท หินปูนฝุน) ใสในอัตราความตองการปูนของดิน
                  หมักทิ้งไวประมาณ 7 วัน สำหรับนาขาว หรือประมาณ 20 วัน สำหรับดินยกรอง
                                  -  การใหปุย เนื่องจากดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ ขาดทั้งธาตุ

                  อาหารหลักและ ธาตุอาหารรอง ดังนั้นจำเปนตองเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน โดยการใสปุยเคมีที่เปน
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120