Page 112 - Chumphon
P. 112

3-40





                            2) ทรัพยากรดินมีปญหาทางการเกษตร

                              จากการวิเคราะหสถานภาพทรัพยากรดินจังหวัดชุมพร พบสภาพทรัพยากรดินที่มีปญหา ดังนี้
                                1.1   ดินกรด มีเนื้อที่ 1,331,411 ไร หรือรอยละ 35.50 ของเนื้อที่จังหวัด แบงเปนใน
                  ที่ลุม มีเนื้อที่ 154,525 ไร หรือรอยละ 4.14 ของเนื้อที่จังหวัด และในที่ดอน มีเนื้อที่ 1,176,886
                  ไร หรือรอยละ 31.36 ของเนื้อที่จังหวัด พบในสภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึง
                  เนินเขา การระบายน้ำเลวถึงดี ดินลึกปานกลางถึงลึกมาก เนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว ดินรวนปนทราย

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกลาง เนื้อดินลางเปนดินเหนียว ดินรวนปนดินเหนียว ดินรวนเหนียว
                  ปนทราย ดินรวนปนทราย ดินรวนเหนียวปนทรายปนกรวดมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมากถึงเปนกลาง
                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำถึงปานกลาง

                                แนวทางในการจัดการดินที่เปนกรด ควรจะใชหลายมาตรการประกอบกัน คือ
                                  -  ลดการใชปุยเคมีที่มากเกินความตองการของพืช โดยเฉพาะปุยไนโตรเจน (ยูเรีย)
                                  -  ในกรณีที่มีน้ำเพียงพอ ควรระบายน้ำที่มีความเปนกรดสูงออกจากแปลง
                  แลวขังน้ำใหมที่มีสภาพความเปนกรดนอยกวาแทน

                                  -  การปรับระดับผิวหนาดินใหมีความลาดเอียงพอที่จะใหน้ำไหลออกสูคลอง
                  ระบายน้ำได และจัดรูปตกแตงแปลงนาและคันนาใหม เพื่อใหสามารถเก็บกักน้ำและระบายน้ำออกได
                  ตามตองการ
                                  -  การยกรองปลูกพืช เปนวิธีการใชสำหรับการปลูกพืชไร ผัก ผลไม หรือไมยืน

                  ตนที่ใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูง
                                  -  ปรับปรุงบำรุงดินใหอุดมสมบูรณทำไดหลายวิธีดังนี้ เชน การใชปุยคอก การใชปุย
                  หมัก การใชปุยพืชสด สวนใหญจะใชพืชตระกูลถั่ว เพราะใหธาตุไนโตรเจนสูง พืชที่นิยมใชเปนปุยพืชสด
                  ไดแก โสนอัฟริกัน โสนอินเดีย ปอเทือง ถั่วเขียว ถั่วพรา ถั่วพุม ถั่วมะแฮะ กระถินยักษ และแหนแดง เปนตน

                                  -  ปลูกพืชหมุนเวียน โดยปลูกพืชหลายชนิดหมุนเวียนในพื้นที่เดียวกัน ควรมี
                  พืชตระกูลถั่ว ซึ่งมีคุณสมบัติบำรุงดินรวมอยูดวยเพื่อใหการใชธาตุอาหารจากดินเปนไปอยางมี
                  ประสิทธิภาพลดการระบาด ของศัตรูพืช ตลอดจนชวยใหชั้นดินมีเวลาพักตัวในกรณีพืชที่ปลูกมีระบบ

                  รากลึกแตกตางกัน
                                1.2  ดินเค็มชายทะเล มีเนื้อที่ 73,004 ไร หรือรอยละ 1.94 ของเนื้อที่จังหวัด
                  เกิดจากอิทธิพลของน้ำทะเลทวมถึงหรือเคยทวมมากอน บริเวณที่มีสภาพพื้นที่เปนที่ลุม น้ำทะเลทวมถึง
                  วัตถุตนกำเนินดินเปนตะกอนน้ำทะเลและน้ำกรอย ดินบริเวณนี้จะมีความชื้นของดินสูงและมีความเค็มสูง
                  พืชพรรณที่ขึ้นในบริเวณนี้เปนไมชายเลน ซึ่งทนเค็มไดดี เชน โกงกาง แสม และลำพู เปนตน และบริเวณ

                  ที่น้ำทะเลเคยทวมถึงมากอน เกิดจากตะกอนน้ำทะเลและตะกอนน้ำกรอย เปนดินมีความเหนียวสูง
                  บางแหงอาจพบชั้นทรายและเปลือกหอยในดินชั้นลาง
                                แนวทางในการจัดการดินเค็มชายทะเล แบงเปน 2 กรณี คือ

                                  1) ปรับปรุงเพื่อการเกษตรกรรม สามารถทำไดโดย
                  .                      - การขุดคลองระบายน้ำใหเพียงพอ คลองควรมีความลึก 1.50 เมตร
                  สำหรับไมยืนตน และความลึก 50 เซนติเมตร สำหรับการปลูกพืชผัก
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117