Page 113 - Chumphon
P. 113

3-41




                                    - การลางดินสามารถทำได โดยการนำน้ำจืดเขามาชะลางเกลือ แลวระบาย

                  เกลือออกไป ในกรณีที่ดินมีเกลือโซเดียมสูงๆ ควรใชยิปซัมรวมในการลางดิน
                                    - การลดระดับน้ำใตดิน โดยวิธีระบายออกหรือสูบออก
                                    - การคัดเลือกพืชที่เหมาะกับระดับความเค็มของดินมาปลูก โดยดูจากตาราง

                  พืชทนเค็ม
                                    - การใชวัสดุอินทรียปรับปรุงดิน เชน ปุยหมัก ปุยคอก ปุยพืชสด วัสดุเหลือ
                  ใชจากโรงงานอุตสาหกรรม
                                  2) การปรับปรุงใหสอดคลองกับสภาพธรรมชาติ โดยพิจารณาการใชประโยชน

                  ตามความเหมาะสม
                                    - ปาชายเลน เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย เปนระบบ
                  นิเวศวิทยาชายฝงทะเลที่สำคัญ ฉะนั้นพื้นที่บางแหงที่เหมาะสม ควรเพิ่มจำนวนพื้นที่ปาชายเลน
                                    - นาเกลือ พื้นที่ชายฝงทะเลบางแหงมีน้ำจืดไมเพียงพอตอการเพาะปลูก แต

                  เหมาะสมกับการทำเกลือ ควรจัดใหเปนพื้นที่สำหรับทำนาเกลือ เชน สมุทรสงคราม เพชรบุรี
                                    - ปลูกไมโตเร็วที่ทนเค็ม เชน สน
                                1.3  ดินเปรี้ยวจัด มีเนื้อที่ 65,677 ไร หรือรอยละ 1.74 ของเนื้อที่จังหวัด
                  แบงเปนดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกำมะถันตื้น มีเนื้อที่ 25,453 ไร หรือรอยละ 0.67 ของเนื้อที่

                  จังหวัด พบชั้นดินที่มีสารจาโรไซตซึ่งมีสีเหลืองฟางขาวหรือชั้นดินที่เปนกรดรุนแรงมากภายในความลึก
                  50 เซนติเมตรจากผิวดิน และดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกำมะถันลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 40,224 ไร
                  หรือรอยละ 1.07 ของเนื้อที่จังหวัด พบชั้นดินที่มีสารจาโรไซตซึ่งมีสีเหลืองฟางขาวหรือชั้นดินที่เปน
                  กรดรุนแรงมากภายในความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน

                                แนวทางทากจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหาะสม คือ
                                  -  ใสวัสดุปูนแกความรุนแรงของกรดในดิน เชน ปูนมารล ปูนขาว หินปูนบด
                  หินปูนฝุน ปูนไดโลไมทผสมคลุกเคลากับหนาดินในอัตราที่เหมาะสม ตามความตองการปูนของดิน
                  เพื่อชวยลดความเปนกรดในดิน หรือใชปูนควบคูไปกับการใชน้ำชะลาง และควบคุมระดับน้ำใตดิน

                                  -  เพิ่มความอุดมสมบูรณ ใหแกดิน โดยใสปุยเคมี ปุยหมัก ปุยคอก ปุยพืชสด
                  เปนตน ซึ่งการใชปุยฟอสเฟตหรือการเพิ่มปริมาณฟอสเฟตใหกับดินเปรี้ยวจัดเปนสิ่งที่จำเปน
                  ในการปลูกพืช ชวยใหพืชเจริญเติบโตไดดีขึ้น และใหผลผลิตสูง

                                  -  เพิ่มความเปนประโยชนของธาตุอาหารในดิน โดยใชจุลินทรีย เชน
                  การใชไมคอรไรซา จุลินทรียละลายฟอสเฟต เพื่อเพิ่มความเปนประโยชนของธาตุ ฟอสฟอรัส
                  หรือการใชไรโซเบียม เพื่อเพิ่มธาตุไนโตรเจนในพื้นที่ดินเปรี้ยว
                                1.4  ดินทรายจัด มีเนื้อที่ 177,314 ไร หรือรอยละ 4.72 ของเนื้อที่จังหวัด
                  แบงเปนในที่ลุม มีเนื้อที่ 33,756 ไร หรือรอยละ 0.90 ของเนื้อที่จังหวัด และในที่ดอน มีเนื้อที่

                  143,558 ไร หรือรอยละ 3.82 ของเนื้อที่จังหวัด พบในสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย การระบายน้ำดี
                  ดินลึกมาก เนื้อดินบนเปนดินทรายปนดินรวน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดเล็กนอย เนื้อดินลางเปนดิน
                  ทรายปนดินรวน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดเล็กนอย ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118