Page 119 - Chumphon
P. 119

3-47




                        3.3.2 การชะลางพังทลายของดิน

                            การสูญเสียดินเนื่องจากการชะลางพังทลายของดิน ทำใหเกิดการสูญเสียหนาดินที่มีธาตุ
                  อาหารพืช อินทรียวัตถุในดิน ตลอดจนโครงสรางของดิน สงผลใหความอุดมสมบูรณ และความสามารถ
                  ในการใหผลผลิตของดินลดลง เปนสาเหตุหลักที่ทำใหทรัพยากรดินเสื่อมโทรมลงอยางรวดเร็ว สงผลตอ

                  ทรัพยากรสิ่งแวดลอม ระบบนิเวศ และสงผลกระทบโดยตรงตอปริมาณผลผลิตของเกษตรกรจึง
                  จำเปนตองมีการประเมินการสูญเสียดินจากการชะลางพังทลายของดิน โดยประเมินจากสมการการ
                  สูญเสียดินสากล (Universal Soil Equation: USLE) ของ Wischmeier & Smith (1978) สำหรับ
                  วิเคราะหปริมาณดินที่สูญเสียจากการชะลางพังทลาย โดยมีรูปแบบของสมการ ดังนี้

                                              A = RKLSCP
                            จากคาปจจัยทั้ง 5 ปจจัยนั้น สามารถนำมาคำนวณการสูญเสียดินสอดคลองตามสมการ
                  การสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation : USLE) โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ซึ่งแบง
                  ชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดินออกเปน 5 ระดับดังนี้ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545)

                           ชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน             อัตราการสูญเสียดิน (ตัน/ไร/ป)

                                 นอย                                             0-2
                                 ปานกลาง                                          2-5
                                 รุนแรง                                           5-15

                                 มาก                                             15-20
                                 มากที่สุด                                     มากกวา 20

                            จากการประเมินการชะลางพังทลายของดิน โดยการประเมินอัตราการสูญเสียดิน
                  และจัดชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดินของจังหวัดชุมพร (ตารางที่ 3-16 และรูปที่ 3-16)
                  พบวา อัตราการสูญเสียดินในพื้นที่จังหวัดชุมพรอยูในระดับนอย มีเนื้อที่ 1,738,341 ไร หรือรอยละ 46.29

                  ของเนื้อที่จังหวัด รองลงมาเปนปานกลาง มีเนื้อที่ 908,638 ไร หรือรอยละ 24.19 ของเนื้อที่จังหวัด รุนแรงมาก
                  ที่สุด มีเนื้อที่ 797,271 ไร หรือรอยละ 21.23 ของเนื้อที่จังหวัด รุนแรง มีเนื้อที่ 275,049 ไร หรือรอยละ
                  7.32 ของเนื้อที่จังหวัด และรุนแรงมาก มีเนื้อที่ 36,331 ไร หรือรอยละ 0.97 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ตารางที่ 3-16 ความรุนแรงของการสูญเสียดินในพื้นที่จังหวัดชุมพร


                           ระดับ              อัตราการชะลางพังทลายของดิน               เนื้อที่
                     การชะลางพังทลาย                  (ตัน/ไร/ป)                      ไร    รอยละ

                   นอย                   0.00 - 2.00                             1,738,341      46.29
                   ปานกลาง                2.01 - 5.00                               908,638      24.19
                   รุนแรง                 5.01 - 15.00                              275,049       7.32
                   รุนแรงมาก              15.01 - 20.00                              36,331       0.97

                   รุนแรงมากที่สุด        >20.01                                    797,271      21.23
                                         รวมเนื้อที่ทั้งหมด                       3,755,630    100.00
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124