Page 121 - Chumphon
P. 121

3-49





                        3.3.3 การประเมินคุณภาพที่ดิน

                            ในการประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพ ไดศึกษาการประเมินคุณภาพดิน รวมกับ
                  ประเภทการใชประโยชนที่ดินที่ไดกำหนดเปนตัวแทนการเกษตรกรรมหลัก การวิเคราะหไดคำนึงถึงปจจัยที่
                  มีผลตอการเจริญเติบโตของพืชในแตละดานของดินที่แตกตางกัน โดยอาศัยคุณลักษณะดินแตกตางกันไป

                  ตามวัตถุตนกำเนิดของดิน ซึ่งคุณลักษณะที่ดินที่ใชในการแสดงคาเพื่อวัดระดับการเจริญเติบโตแตกตางกัน
                            การเลือกใชคุณลักษณะที่ดินเพื่อใชเปนตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมินความเหมาะสม
                  ที่ดินตามระบบ FAO กำหนดในระบบไว 25 ชนิด สำหรับประเทศไทยนำมาประเมิน 13 ชนิด จำเปนตอง
                  จัดลำดับความสำคัญคุณภาพที่ดินกอนที่จะนำมาประเมิน ตามเงื่อนไขการคัดเลือกคุณภาพที่ดินโดย

                  ตัวแทนคุณภาพที่ดินแตละตัวมีขอจำกัดในการเลือกใช คือ ปจจัยดังกลาวจึงมีผลตอพืชหรือประเภท
                  การใชที่ดินนั้น ๆ และพบคาวิกฤตในพื้นที่ปลูกนั้น ๆ รวมถึงการรวบรวมขอมูลตองสามารถปฏิบัติไดจริง
                  จากเงื่อนไขดังกลาว (บัณฑิต และคำรณ, 2542)
                            เมื่อทำการจัดลำดับความสำคัญแลว พบวาเงื่อนไขหลักขึ้นอยูกับการรวบรวมขอมูล

                  คุณลักษณะที่ดิน ดังนั้นเมื่อนำมาใชในการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพของพืชตาง ๆ จึงมีปจจัยหลัก
                  7 ปจจัย ที่นำมาวิเคราะห ดังนี้
                              1) ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอดิน (m)
                              2) ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o)

                              3) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)
                              4) การดูดยึดธาตุอาหาร (n)
                              5) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)
                              6) ศักยภาพการใชเครื่องจักร (w)

                              7) ความเสียหายจากการกัดกรอน (e)
                            สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ได 4 ชั้น คือ
                              S1 :  ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง
                              S2 :  ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                              S3 :  ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย
                              N  :  ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม
                            ผลจากการประเมินความเหมาะสมที่ดินของบริเวณจังหวัดชุมพรสามารถจำแนก

                  การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินในระดับชั้นยอยโดยแยกเปนเขตเกษตรที่อาศัยน้ำฝน รายละเอียดดังนี้
                              1) เขตพื้นที่เกษตรน้ำฝนจากการสำรวจภาคสนามในเขตพื้นที่จังหวัดชุมพร
                  ไดดำเนินการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน และไดจัดทำการประเมิน
                  ความเหมาะสมของที่ดินตามพืชทางเลือกที่สามารถสงเสริมใหเพาะปลูก ประกอบดวย ขาวนาป พืชผัก
                  สับปะรด กลวย กาแฟ ปาลมน้ำมัน ยางพารา มะพราว และไมผล มีความเหมาะสมของที่ดินตาม

                  คุณลักษณะของที่ดิน ดังนี้
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126