Page 56 - Nongbualamphu
P. 56

3-10




                             2)  การสูญเสียดินปานกลาง มีเนื อที่ 500,034 ไร่ หรือร้อยละ 20.73 มีอัตราการสูญเสียดิน

                  2-5 ตันต่อไร่ต่อปี ส่วนใหญ่เป็นพื นที่เกษตรกรรมที่ปลูกพืชไร่ เช่น อ้อย และข้าวโพด ในสภาพพื นที่ลูกคลื่น

                  ลอนลาดเล็กน้อย ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ ควรใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน  าที่เหมาะสม เช่น การปลูก

                  พืชตามแนวระดับ การพืชคลุมดินพวกพืชตระกูลถั่ว หรือปลูกแถบหญ้าแฝก เป็นต้น เพื่อป้องกันการชะล้าง

                  พังทลายและรักษาความชุ่มชื นของดิน
                             3) การสูญเสียดินรุนแรง มีเนื อที่ 136,038 ไร่ หรือร้อยละ 5.64 มีอัตราการสูญเสียดิน

                  5-15 ตันต่อไร่ต่อปี ส่วนใหญ่เป็นพื นที่เกษตรกรรมที่ปลูกพืชไร่ เช่น อ้อยและมันส าปะหลัง ที่ปลูกในสภาพ

                  พื นที่ลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ ต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน  าที่เหมาะสม โดยใช้

                  มาตรการวิธีกลและวิธีพืชร่วมกัน เช่น การท าคันดินเบนน  า ร่วมกับการปลูกพืชคลุมดิน การปลูกหญ้าแฝก

                  ตามแนวคันดิน เป็นต้น เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน

                             4) การสูญเสียดินรุนแรงมาก มีเนื อที่ 5,037 ไร่ หรือร้อยละ 0.21 มีอัตราการสูญเสียดิน

                  15-20 ตันต่อไร่ต่อปี ส่วนใหญ่เป็นพื นที่เกษตรกรรมที่ปลูกพืชไร่ เช่น อ้อย ข้าวโพด และมันส าปะหลัง
                  ในสภาพพื นที่ลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน12-20 เปอร์เซ็นต์ ถึงเนินเขา ความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์

                  ต้องเร่งจัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน  าแบบเข้มข้น โดยใช้มาตรการวิธีกลและวิธีพืชร่วมกัน เช่น คูรับน  า

                  รอบเขา ร่วมกับการปลูกพืชคลุมดินการปลูกแถบหญ้าแฝกบนคันคู ท าทางระบายน  า และบ่อดักตะกอน

                  เป็นต้น เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน

                             5) การสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด มีเนื อที่ 17,480 ไร่ หรือร้อยละ 0.73 มีอัตราการ
                  สูญเสียดินมากกว่า 20 ตันต่อไร่ต่อปี ส่วนใหญ่เป็นพื นที่เกษตรกรรมที่ปลูกพืชไร่ในพื นที่ลาดชันเชิงซ้อน

                  ความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่เหมาะสมส าหรับการท าการเกษตร ควรฟื้นฟูพื นที่ด้วยการปลูกป่า

                  3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง หรือระบบวนเกษตร หรือฟื้นฟูให้มีสภาพเป็นป่าไม้ที่สมบูรณ์ เพื่อเป็นต้นน  า

                  ล าธารต่อไป
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61