Page 53 - Nongbualamphu
P. 53

3-5




                  ตารางที่ 3-1 ทรัพยากรดินที่มีปัญหาทางการเกษตรของจังหวัดหนองบัวล าภู

                                                                                    เนื้อที่
                                   สถานภาพทรัพยากรดิน
                                                                            ไร่            ร้อยละ
                   ดินที่มีปัญหาทางการเกษตร                               543,524           22.54
                      ดินตื นถึงชั นลูกรัง หรือกรวดในพื นที่ลุ่ม             7,963          0.33
                      ดินทรายจัดในพื นที่ดอน                               141,399          5.86
                      ดินตื นถึงชั นลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหินในพื นที่ดอน   363,941        15.09
                      ดินตื นถึงชั นหินพื นในพื นที่ดอน                     30,221          1.26

                   ดินที่ไม่มีปัญหาทางการเกษตร                           1,342,612          55.67
                   พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                  274,046           11.36

                   พื้นที่น้ า                                            125,524           5.20
                   พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง                           126,223           5.23

                                          รวม                            2,411,929         100.00

                  ที่มา : ปรับปรุงจากกองส ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2564)


                        3.1.2 การชะล้างพังทลายของดิน

                              จากผลการประเมินการชะล้างพังทลายของดินของกรมพัฒนาที่ดิน (2563) โดยใช้สมการ

                  การสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation : USLE) ซึ่งจัดชั นความรุนแรงของการสูญเสียดิน
                  เป็น 5 ระดับ พบว่าจังหวัดหนองบัวล าภูมีระดับความรุนแรงของการสูญเสียดิน ดังนี  (ตารางที่ 3-2 และ

                  รูปที่ 3-3)
                             1) การสูญเสียดินน้อย มีเนื อที่ 1,753,340 ไร่ หรือร้อยละ 72.69 มีอัตราการสูญเสียดิน

                  0-2 ตันต่อไร่ต่อปี ส่วนใหญ่มีสภาพเป็นป่าสมบูรณ์ และพื นที่เกษตรกรรมที่ปลูกข้าวและพืชไร่ เช่น อ้อย

                  และมันส าปะหลัง ในสภาพพื นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ พื นที่นี
                  ไม่จ าเป็นต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน  าแบบเข้มข้น แต่ควรป้องกันการบุกรุกท าลายพื นที่ป่า รักษา

                  สภาพป่าไม้ให้มีความสมบูรณ์ และปรับปรุงบ ารุงดินโดยใช้อินทรียวัตถุเพื่อป้องกันความเสื่อมโทรม
                  ของดินที่เกิดจากการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58