Page 49 - Nongbualamphu
P. 49

บทที่ 3


                                                  ทรัพยากรธรรมชาติ




                  3.1  ทรัพยากรดิน

                        ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความส าคัญในการท าการเกษตร เป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อ

                  การเจริญเติบโตของพืช เป็นแหล่งให้ธาตุอาหารและน  าแก่พืช ดินมีลักษณะและสมบัติที่แตกต่างกัน

                  เกิดขึ นภายใต้อิทธิพลร่วมกันของปัจจัยต่างๆ ที่ควบคุมการเกิดและพัฒนาการของดิน ซึ่งจะส่งผลต่อ
                  การใช้ที่ดินที่แตกต่างกันไปด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการเกษตรกรรมที่มีความเหมาะสมส าหรับการ

                  ปลูกพืชแต่ละชนิดที่แตกต่างกัน การใช้ทรัพยากรดินต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานานหรือใช้ไม่ถูกต้อง
                  จะท าให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรม ดังนั นจ าเป็นต้องมีการปรับปรุงบ ารุงดินรวมทั งอนุรักษ์ดินและน  า

                  เพื่อให้ทรัพยากรดินมีความอุดมสมบูรณ์ที่เหมาะสมต่อการท าการเกษตรอย่างยั่งยืนต่อไป

                        3.1.1 สถานภาพทรัพยากรดิน
                             1) ทรัพยากรดินในจังหวัดหนองบัวล าภู

                               ทรัพยากรดินของจังหวัดหนองบัวล าภู ประกอบด้วย (รูปที่ 3-1)

                               (1) ดินในพื้นที่ราบลุ่ม พบตั งแต่ร่องระหว่างเนินเขา ตะพักล าน  า ส่วนต่ าของพื นที่
                  เกือบราบ และพื นที่เกือบราบหรือที่เกือบราบ เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดพวกตะกอนน  าพา ส่วนใหญ่เป็นตะกอน

                  ของหินตะกอนเนื อหยาบ หรือตะกอนน  าพาของวัสดุที่พัฒนามาจากหินเนื อหยาบพวกหินทราย การสลายตัว

                  ผุพังอยู่กับที่ของหินตะกอนสองยุค (ทราย/เหนียว) หรือตะกอนของหินตะกอนเนื อหยาบที่ถูกชะมาทับถม
                  อยู่บนหินตะกอนเนื อละเอียด มีสภาพพื นที่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีการแช่ขังของน  าและ

                  มีระดับน  าใต้ดินอยู่ใกล้ผิวดินในช่วงฤดูฝน ดินมีการระบายน  าดีปานกลางถึงเลว มีสีเทา สีเทาเข้ม สีเทาปน
                  น  าตาล สีเทาปนน  าตาลอ่อน หรือสีน  าตาลปนเทา พบจุดประสีต่างๆ ตลอดหน้าตัดดินหรือบางชั นของ

                  หน้าตัดดิน เช่น จุดประสีแดง สีแดงปนเหลือง สีน  าตาลปนเหลือง สีเหลืองปนน  าตาล สีน  าตาลเข้ม ที่บ่งบอก

                  ถึงการมีน  าแช่ขังในหน้าตัดดิน มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า
                  ถึงปานกลาง บางบริเวณพบว่าดินบนมีเนื อดินปนกรวดเล็กน้อยและดินล่างพบศิลาแลงอ่อน โดยจ าแนก

                  ตามลักษณะของเนื อดินและสมบัติบางประการที่เด่นชัด ได้เป็น 5 กลุ่ม ดังนี
                                   -  กลุ่มดินเหนียว มีเนื อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียว

                  ปนทรายแป้ง ดินล่างเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งหรือดินเหนียว ได้แก่ ชุดดินชุมแพ (Cpa) และชุดดิน

                  นาอ้อ (Nao)
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54