Page 52 - Nongbualamphu
P. 52

3-4




                  ในพื นที่นากุ้งร้าง นอกจากนี  ยังรวมถึงดินที่มีปัญหาเล็กน้อยที่เป็นข้อจากัดทางการเกษตร เช่น ดินกรด

                  และดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เป็นต้น (กรมพัฒนาที่ดิน, 2561)

                             จากการวิเคราะห์ทรัพยากรดินของจังหวัดหนองบัวล าภู พบปัญหาทรัพยากรดินที่เกิดขึ น
                  ตามธรรมชาติ (ตารางที่ 3-1 และรูปที่ 3-2) ส่วนใหญ่เป็นปัญหาดินตื น มีเนื อที่ 402,125 ไร่ หรือร้อยละ

                  16.68 ของเนื อที่จังหวัด แบ่งได้เป็น ดินตื นถึงชั นลูกรังหรือกรวดในพื นที่ลุ่ม มีเนื อที่ 7,963 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.33 ของเนื อที่จังหวัด ดินตื นถึงชั นลูกรัง ก้อนกรวดหรือเศษหินในพื นที่ดอน มีเนื อที่ 363,941 ไร่
                  หรือร้อยละ 15.09 ของเนื อที่จังหวัด และดินตื นถึงชั นหินพื นในพื นที่ดอน มีเนื อที่ 30,221 ไร่ หรือร้อยละ

                  1.26 ของเนื อที่จังหวัด ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช การไถพรวน ความสามารถในการดูดซับ
                  หรือการซึมของน  าลงในดินต่ า และอินทรียวัตถุมีน้อย ท าให้การเกาะยึดตัวของเม็ดดินไม่ดี เกิดน  าไหล่บ่า

                  การชะล้างพังทลายของดินและแร่ธาตุได้ง่าย รองลงมาเป็นดินทรายจัดในพื นที่ดอน มีเนื อที่ 141,399 ไร่

                  หรือร้อยละ 5.86 ของเนื อที่จังหวัด เนื อดินมีปริมาณอนุภาคขนาดทรายเป็นส่วนประกอบอยู่สูง ท าให้
                  ความสามารถในการอุ้มน  าการดูดซับและแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพืชต่ า ท าให้มีปัญหาความอุดมสมบูรณ์

                  ของดินต่ าไปด้วย เมื่อฝนตกหนักจะเกิดการชะล้างพังทลายของดินและธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
                  ได้ง่าย และเสี่ยงต่อการขาดแคลนน  าหรือความชื นในกรณีฝนทิ งช่วง ท าให้พืชที่ปลูกมีการเจริญเติบโตไม่ดี

                  หรืออาจตายได้

                              นอกจากปัญหาดินตื นที่เกิดขึ นตามธรรมชาติแล้ว ยังมีปัญหาความเสื่อมโทรมของ
                  ทรัพยากรดินที่เกิดจากการใช้ที่ดินแบบเข้มข้น เกษตรกรมุ่งเน้นการใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตเป็นส าคัญ

                  ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่สอดคล้องกับปริมาณธาตุอาหารพืชที่มีอยู่ในดิน ฉีดพ่นสารเคมีในการก าจัดวัชพืช

                  ปราบศัตรูพืชทั งโรคและแมลง ขาดการปรับปรุงบ ารุงดิน และการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน  าที่ถูกต้อง
                  เหมาะสมในการท าเกษตรกรรม เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวควรก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน  า การปรับปรุง

                  บ ารุงดินเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ทรัพยากรดินเพื่อการเกษตรกรรมได้ยั่งยืนต่อไป
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57