Page 59 - Nongbualamphu
P. 59

3-13




                        3.1.3 การประเมินคุณภาพที่ดิน

                              คุณภาพที่ดิน (land quality) คือ คุณสมบัติของดินที่ค านึงถึงองค์ประกอบของสภาพ

                  สิ่งแวดล้อมที่อยู่โดยรอบ เช่น สภาพภูมิอากาศ สภาพพื นที่ พืชพรรณธรรมชาติ สิ่งมีชีวิต และการใช้
                  ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น ซึ่งในการวางแผนการใช้ที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภูนั น การประเมินคุณภาพที่ดิน

                  ทางกายภาพจะประเมินสอดคล้องกับหน่วยที่ดินร่วมกับปริมาณน  าฝนรายปี

                              การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพหรือด้านคุณภาพ (qualitative land evaluation) เป็น
                  การประเมินศักยภาพของที่ดิน ท าให้ทราบว่าที่ดินนั นๆ เหมาะสมมากหรือน้อยเพียงใดต่อการใช้ที่ดิน

                  ประเภทต่างๆ โดยพิจารณาจากคุณลักษณะที่ดินที่ได้จ าแนกไว้ในแต่ละหน่วยที่ดิน (Land Unit, LU)
                  สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช และระดับการจัดการในการใช้ประโยชน์ที่ดินส าหรับแต่

                  ละประเภทการใช้ที่ดิน (Land Utilization Type, LUT) ซึ่งการวางแผนการใช้ที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภูนี

                  ได้ศึกษาตามหลักการของ FAO Framework ค.ศ. 1983
                              ประเมินคุณภาพที่ดินของหน่วยที่ดิน ซึ่งหน่วยที่ดินแต่ละหน่วยนั นจะมีลักษณะเฉพาะและ

                  จะถูกน าไปใช้วิเคราะห์ความเหมาะสมของที่ดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ซึ่งในการประเมินคุณภาพ
                  ของดินนั นจะจัดชั นตามชั นมาตรฐานของแต่ละปัจจัยพิจารณา คุณภาพที่ดินที่ได้น ามาใช้ในการพิจารณา

                  ในครั งนี ประกอบด้วย

                             1) ความชุ่มชื นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (m) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ เนื อดิน
                             2)  ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (o) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ สภาพการระบายน  า

                             3)  ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (s) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                  โดยจะพิจารณาประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินจากธาตุอาหารหลัก คือ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
                  และ โพแทสเซียม

                             4)  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุ
                  บวก (CEC) และความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่าง (BS) ซึ่งทั งสองปัจจัยนี จะใช้ข้อมูลดินล่างในการ

                  พิจารณา

                             5)  สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ ความลึกของดิน และชั นการหยั่งลึก
                  ของราก

                             6) สภาวะการเขตกรรม (k) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ ชั นความยากง่ายในการเขตกรรม โดย
                  จะพิจารณาจากเนื อดินเป็นหลัก

                             7) การมีเกลือมากเกินไป (x) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ ค่าการน าไฟฟ้า (EC)

                             8) สารพิษ (z) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ ปฏิกิริยาดิน (pH)
                             9) ศักยภาพการใช้เครื่องจักร (w) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ ความลาดชัน

                            10)  ความเสียหายจากการกัดกร่อน (e) ปัจจัยพิจารณา ได้แก่ ความลาดชัน
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64