Page 60 - Nongbualamphu
P. 60

3-14




                             ผลจากการประเมินคุณภาพที่ดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจในจังหวัดหนองบัวล าภู

                  ตามหลักการของ FAO (บัณฑิตและค ารณ, 2542) สามารถจ าแนกชั นความเหมาะสมของที่ดินส าหรับ

                  ปลูกพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญรวมทั งพืชทดแทนได้ดังนี
                             1) อ้อยโรงงาน

                               ชั นความเหมาะสมสูง (S1) ไม่พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                               ชั นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ความเสียหาย
                  จากการกัดกร่อน (e) ศักยภาพการใช้เครื่องจักร (w) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) สารพิษ (z) ความ

                  ชุ่มชื นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (m) ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (o) ความจุในการดูดยึด
                  ธาตุอาหาร (n) และความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (s)

                               ชั นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ความเสียหาย

                  จากการกัดกร่อน (e) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) และความชุ่มชื นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (m)
                             2) ข้าวนาปี

                               ชั นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ความชุ่มชื น
                  ที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (m) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) และความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (s)

                               ชั นที่มีความเหมาะสมสูเล็กน้อย (S3) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ สภาวะ

                  การหยั่งลึกของราก (r) และความชุ่มชื นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (m)
                             3) มันส าปะหลัง

                               ชั นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ความเสียหาย

                  จากการกัดกร่อน (e) สภาวะการเขตกรรม (k) ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (o) ความจุ
                  ในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) และความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (s)

                               ชั นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ความเสียหาย
                  จากการกัดกร่อน (e) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) สภาวะการเขตกรรม (k) และความเป็นประโยชน์

                  ของออกซิเจนต่อรากพืช (o)

                             4) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                               ชั นความเหมาะสมสูง (S1) ไม่พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                               ชั นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ความเสียหาย
                  จากการกัดกร่อน (e) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (o)

                  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) และความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (s)

                               ชั นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ความเสียหาย
                  จากการกัดกร่อน (e) ศักยภาพการใช้เครื่องจักร (w) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) และความเป็น

                  ประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (o)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65