Page 106 - khonkaen
P. 106

5-12





                                      2.1.3) เขตปลูกไมผล/พืชผัก

                                    -  พื้นที่ที่เหมาะสมตอการปลูกไมผล และพืชผักตาง ๆ ควรจัดหาตลาดรองรับ เพื่อ
                  จําหนายในตลาดสําหรับบริโภคภายในพื้นที่ เนื่องจากเปนที่ตั้งของแหลงชุมชน โดยแนวทางการจัดการดาน
                  การผลิตไมผล ควรใชแนวทางของเกษตรอินทรีย เพื่อลดการใชสารเคมี โดยการใชปุยอินทรียและ
                  ผลิตภัณฑจากเทคโนโลยีชีวภาพ มีการจัดสรางแหลงกักเก็บน้ําในไรนาเพื่อลดความเสี่ยงจากภาวะแลง

                  อันจะกระทบตอปริมาณผลผลิต
                                     - ควรมีระบบอนุรักษดินและน้ํา เพื่อชวยเก็บกักความชื้นและรักษาสภาพแวดลอม
                  ใหมีความสมดุลมีการใชเทคโนโลยีชีวภาพในกระบวนการผลิต เพื่อใหเกิดผลดีตอพืช ที่ดินและ
                  สิ่งแวดลอมโดยรวม
                                     - สงเสริมการทําการเกษตรแบบผสมผสานเพื่อลดความเสี่ยงของเกษตรกรรายยอย
                  บางบริเวณพื้นที่คอนขางลุมควรทําทางระบายน้ําไมใหทวมขังในฤดูฝน

                                                             2.1.4)  เขตปลูกไมยืนตน

                                     - ปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณดวยการใสปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียให
                  ถูกตองตามลักษณะดิน ในชวงดินมีความชื้นเหมาะสมควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่ว เพื่อเพิ่ม
                  อินทรียวัตถุแกดิน

                            2.2) เขตพื้นที่เกษตรกรรมมีศักยภาพในการผลิตสูง
                                  2.2.1) เขตทํานา

                                    - ในการใชพื้นที่เพื่อการทํานาควรมีการเพิ่มศักยภาพการผลิตดวยการพัฒนา
                  แหลงน้ํา เชน บอน้ําในไรนา เพื่อเก็บกักน้ําสําหรับปลูกพืช ลดความเสียหายกรณีฝนทิ้งชวง และเพิ่ม
                  ศักยภาพการผลิตดวยการใชพันธุดีจากแหลงผลิตที่เชื่อถือได ประกอบกับการใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพ
                  ควบคูกับการใชปุยเคมีในอัตราที่เหมาะสม หรืออาจทําเกษตรแบบเกษตรผสมผสานตามแนวทางทฤษฎี
                  ใหม โดยการขุดบอน้ําเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผล ไมยืนตน และนาขาวรวมกัน


                                  2.2.2) เขตพื้นที่พืชเศรษฐกิจเพื่อการอุตสาหกรรม
                                    - ยึดรูปแบบและแนวทางการพัฒนาในเขตทํานา
                                    - ศึกษา วิจัยระบบการทําฟารม (Farming system research) ระบบการปลูกพืช
                  หรือระบบเกษตรแบบผสมผสาน โดยนําเทคโนโลยีที่ไดผลดีในสถานีทดลอง ไปทดสอบหาความเหมาะสม
                  ในไรนาของเกษตรกรตามสภาพทองถิ่น เพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพการใชที่ดินจากการปลูกพืชชนิดเดียว

                  เปนการปลูกพืชหลายชนิดในพื้นที่เดียวกัน
                                  2.2.3) เขตพื้นที่พืชเศรษฐกิจเพื่อการแขงขัน
                                    - พื้นที่ที่เหมาะสมตอการปลูกไมผล พืชผักตาง ๆ และไมยืนตน ควรจัดหาตลาด
                  รองรับ

                                    - แนวทางการจัดการในสภาพพื้นที่ที่มีความลาดชัน ควรมีระบบอนุรักษดินและน้ํา
                  เพื่อชวยเก็บกักความชื้นและรักษาสภาพแวดลอมใหมีความสมดุล มีการใชเทคโนโลยีชีวภาพใน
                  กระบวนการผลิต เพื่อใหเกิดผลดีตอพืช ที่ดินและสิ่งแวดลอมโดยรวม
                                    - สงเสริมการทําการเกษตรแบบผสมผสานเพื่อลดความเสี่ยงของเกษตรกรรายยอย
                  บางบริเวณพื้นที่คอนขางลุมควรทําทางระบายน้ําไมใหทวมขังในฤดูฝน





                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111