Page 101 - khonkaen
P. 101

5-7





                  โดยเฉพาะพืชที่ตองพึ่งพาการแปรรูป มีเนื้อที่ 1,634,266 ไร หรือรอยละ 24.02 ของเนื้อที่จังหวัด

                  พื้นที่ในเขตนี้สวนใหญมีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด เปนพื้นที่ดอนมีความ
                  เหมาะสมของดินในการปลูกพืชไร ปจจุบันมีการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกออยโรงงาน และมัน
                  สําปะหลัง โดยจําแนกเขตยอยไดดังนี้

                                        - เขตปลูกออยโรงงาน มีเนื้อที่ 1,153,586 ไร หรือรอยละ 16.96 ของเนื้อที่
                  จังหวัด
                                        - เขตปลูกมันสําปะหลัง มีเนื้อที่ 480,680 ไร หรือรอยละ 7.06 ของเนื้อที่
                  จังหวัด
                                  2.3) เขตพื้นที่พืชเศรษฐกิจเพื่อการแขงขัน (สัญลักษณแผนที่ 223) เปนเขต

                  พืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวที่ปลูกในพื้นที่มีความเหมาะสม เนนการผลิตเพื่อการสงออกและแขงขันกับ
                  ตางประเทศ มีเนื้อที่ 245,283 ไร หรือรอยละ 3.61 ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซอนทับกับพื้นที่
                  ราชพัสดุประมาณ 1,142 ไร พื้นที่ในเขตนี้สวนใหญมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินลึกปาน

                  กลางถึงลึก โดยจําแนกเขตยอยไดดังนี้
                                        - เขตปลูกมะมวง มีเนื้อที่ 23,666 ไร หรือรอยละ 0.35 ของเนื้อที่จังหวัด
                                        - เขตปลูกโกโก มีเนื้อที่ 4,210 ไร หรือรอยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด
                                        - เขตปลูกพุทรา มีเนื้อที่ 64 ไร หรือรอยละ 0.00 ของเนื้อที่จังหวัด

                                        - เขตปลูกยางพารา มีเนื้อที่ 195,044 ไร หรือรอยละ 2.87 ของเนื้อที่จังหวัด
                                      - เขตปลูกหมอน มีเนื้อที่ 12,867 ไร หรือรอยละ 0.19 ของเนื้อที่จังหวัด
                                      - เขตปลูกไมผลอื่น มีเนื้อที่ 2,911 ไร หรือรอยละ 0.04 ของเนื้อที่จังหวัด
                                      - เขตปลูกพืชผัก มีเนื้อที่ 6,522 ไร หรือรอยละ 0.10 ของเนื้อที่จังหวัด

                                3) เขตพื้นที่เกษตรกรรมมีศักยภาพในการผลิตต่ํา

                                      เปนพื้นที่ทําการเกษตรโดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก ดินมีศักยภาพในการผลิตเล็กนอย
                  หรือไมเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช หรือมีขอจํากัดของการใชประโยชนที่ดิน ซึ่งถาหากมีการนําพื้นที่มา
                  ใชประโยชนจะตองมีการแกไขปญหาที่มีขอจํากัดรุนแรงของการใชที่ดินนั้น ๆ ซึ่งยากตอการแกไขหรือ

                  ตองใชเงินทุนสูง เชน ปญหาดินเปนทรายจัดหรือดินคอนขางเปนทราย ซึ่งมีผลตอความสามารถในการ
                  อุมน้ําที่เปนประโยชนตอพืชต่ํารวมถึงการที่ดินมีปริมาณธาตุอาหารพืชต่ํา หรือปญหาดินตื้นซึ่งเปน
                  อุปสรรคตอการเจริญเติบโตของพืช สภาพพื้นที่เสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดิน ดังนั้นการใช
                  ประโยชนที่ดินในบริเวณนี้จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการพัฒนาหรือปรับปรุง และมีมาตรการเฉพาะ
                  เพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น รวมถึงตองมีมาตรการในการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม เพื่อปองกันมิใหเกิด

                  ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่เขตนี้สามารถแบงยอยตามสภาพการใชที่ดินได 2 เขตยอย
                  ดังนี้
                                      3.1) เขตพื้นที่เรงรัดสงเสริมการปรับเปลี่ยนการผลิต (สัญลักษณแผนที่ 231) มี

                  เนื้อที่ 382,490 ไร หรือรอยละ 5.62 ของเนื้อที่จังหวัด ลักษณะพื้นที่มี่ความเหมาะสมในการผลิตทาง
                  การเกษตรคอนขางต่ํา หรือไมเหมาะสมตอการผลิตสินคาเกษตร เนื่องจากใหผลผลิตไมคุมคาตอการลงทุน
                  หรืออาจมีการเสี่ยงตอภัยพิบัติทางธรรมชาติ การใชพื้นที่ทําการเกษตรจําเปนตองมีการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่
                  หรือปรับเปลี่ยนการผลิตพืชใหเหมาะสมตรงตามศักยภาพของที่ดินโดยจําแนกเปนกลุมยอยไดดังนี้





                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106