Page 99 - khonkaen
P. 99

5-5





                                  2.2) เขตฟนฟูทรัพยากรปาตามธรรมชาติ (สัญลักษณแผนที่ 122) เขตนี้มีเนื้อที่

                  12,236 ไร หรือรอยละ 0.18 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่ในเขตนี้ปจจุบันมีสภาพเปนพื้นที่ปารอสภาพฟนฟู
                  และพื้นที่ทุงหญาสลับไมพุม/ไมละเมาะ

                                  2.3) เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไข (สัญลักษณแผนที่ 123) เขตนี้มี
                  เนื้อที่ 191,060 ไร หรือรอยละ 2.81 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่ในเขตนี้ปจจุบันเปนบริเวณที่มีการใช
                  ประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกยางพารา สับปะรด และมะพราว


                        5.1.2 เขตพื้นที่เกษตรกรรม
                             เขตพื้นที่เกษตรกรรม ไดแก พื้นที่นอกเขตที่มีการประกาศเปนเขตปาไมตามกฎหมาย ซึ่ง
                  รัฐไดกําหนดเปนพื้นที่ทํากินมีการออกเอกสารสิทธิ์ รวมถึงพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
                  (ส.ป.ก.) ที่ดินเอกชน แปลงที่ดินทํากินตามนโยบายที่ดินแหงชาติ (คทช.) และพื้นที่ราชพัสดุซึ่งอยูนอกเขต

                  ปาไมตามกฎหมาย เนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ที่ดินจึงเปนปจจัยสําคัญและเปน
                  รากฐานของการผลิตทางการเกษตร ซึ่งจําเปนตองบํารุงรักษาและฟนฟูดิน รวมทั้งพัฒนาใหเหมาะสมแก
                  การประกอบการเกษตรไดอยางยั่งยืนและนําไปสูการเปนแหลงผลิตอาหารที่สําคัญของโลก และจากผล
                  ของการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปจจุบัน ทําใหมีการนําที่ดินที่เหมาะสมกับการเกษตรไปใชเพื่อกิจกรรมอื่น

                  ๆ หรือเปนเจาของที่ดินแทนคนตางดาวดวยประการใด ๆ ซึ่งอาจเกิดผลกระทบตอความมั่นคงทางอาหารของ
                  ประเทศและความเปนอยูของเกษตรกร จึงจําเปนตองรักษา ปองกันและคุมครองพื้นที่เกษตรกรรม
                  สนับสนุนการผลิตทางการเกษตรที่สอดคลองกับสภาพพื้นที่ เชนศักยภาพของที่ดิน แหลงรองรับผลผลิต
                  ระบบชลประทาน ระบบโลจิสติกส โดยแบงพื้นที่เกษตรกรรมที่จําเปนตองคุมครอง โดยยึดความ

                  เหมาะสมของที่ดินเปนหลัก เพื่อใหมีผลตอบแทนที่คุมคาตอการลงทุน เขตคุมครองพื้นที่เกษตรกรรม มี
                  เนื้อที่รวม 4,520,544 ไร หรือรอยละ 66.44 ของเนื้อที่จังหวัด โดยสามารถแบงออกเปน 6 เขตยอย คือ

                                1) เขตพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดี
                                      เขตพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดีมีเนื้อที่ 225,221 ไร หรือรอยละ 3.31 ของเนื้อที่จังหวัด
                  เขตนี้เปนพื้นที่ทําการเกษตรที่มีระบบชลประทาน ดินมีศักยภาพในการผลิตปานกลางถึงสูงแตอาจมี

                  ขอจํากัดของการใชประโยชนที่ดินบางประการที่สามารถแกไขไดงาย บางพื้นที่มีแหลงน้ําเพียงพออาจมี
                  การใชพื้นที่เพื่อการปลูกพืชผัก ไมดอกไมประดับ หรือพืชอายุสั้นหลังฤดูทํานาได พื้นที่เขตนี้เปนพื้นที่
                  สําคัญในการผลิตพืชเศรษฐกิจ พื้นที่เขตนี้สามารถแบงเปน 4 เขตยอย ตามศักยภาพและความเหมาะสม

                  ของการใชประโยชนที่ดินดังนี้
                                      พื้นที่ที่มีศักยภาพทางการเกษตรสูงมีความเหมาะสมสูงสําหรับการทํานา ปลูกพืชไร
                  ไมผล ไมยืนตน ใหผลผลิตสูง มีระบบชลประทาน หรือเปนเขตจัดรูปที่ดิน (เหมาะสมปานกลาง เหมาะสม
                  เล็กนอยแตอยูในเขตชลประทาน) ใหมีการใชที่ดินเฉพาะเพื่อการเกษตรอยางเขมงวด ไมใหเปลี่ยนแปลง
                  ไปทํากิจกรรมประเภทอื่นที่จะทําใหสภาพการเกษตรเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง เชน หมูบานจัดสรร

                  โรงงานอุตสาหกรรม

                                      1.1) เขตทํานา (สัญลักษณแผนที่ 211) มีเนื้อที่ 193,319 ไร หรือรอยละ 2.84
                  ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางถึงสูงในการ
                  ทํานาโดยอาศัยน้ําจากระบบชลประทาน





                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104