Page 100 - khonkaen
P. 100

5-6





                                  1.2) เขตปลูกพืชไร (สัญลักษณแผนที่ 212) มีเนื้อที่ 22,647 ไร หรือรอยละ

                  0.33 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบเปนพื้นที่ดอนมีความเหมาะสมของดิน
                  ในการปลูกพืชไดหลายชนิด ทั้งไมผลและไมยืนตน แตเมื่อพิจารณาในดานการจัดการจึงกําหนดให
                  เขตนี้เปนเขตสําหรับการปลูกพืชไร โดยเฉพาะออยโรงงาน และมันสําปะหลัง ซึ่งถือเปนพืชเศรษฐกิจที่

                  สําคัญ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารและพลังงาน แตสวนมากจะประสบปญหาเรื่องปริมาณผลผลิต
                  ที่ไมสัมพันธกับความตองการของตลาดอันสงผลถึงราคาของผลผลิต การตัดสินใจผลิตพืชของเกษตรกร
                  สวนใหญจึงขึ้นอยูกับราคาตลาด ณ เวลากอนทําการผลิตดังนั้นจึงไมสามารถระบุพื้นที่ปลูกพืชแตละชนิดได
                  ชัดเจน และไมสามารถควบคุมพื้นที่ปลูก เพื่อลดปญหาผลผลิตลนตลาด และราคาตกต่ําไดถึงแมรัฐบาลจะ
                  มีนโยบายและยุทธศาสตรตาง ๆ เชน ยุทธศาสตรการปลูกพืชทดแทนพลังงาน การลงทะเบียนเกษตรกร

                  และการประกันราคาผลผลิตแลวก็ตาม

                                      1.3) เขตปลูกไมผล/พืชผัก (สัญลักษณแผนที่ 213) มีเนื้อที่ 4,317 ไร หรือรอยละ
                  0.06 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ดินลึกปานกลางถึงลึก มีความเหมาะสม
                  ของที่ดินในการปลูกไมผล หรือพืชผักตาง ๆ ปจจุบันมีการปลูกไมผลผสม เชน มะมวง โกโก และพุทรา

                  เปนตน

                                      1.4) เขตปลูกไมยืนตน (สัญลักษณแผนที่ 214) มีเนื้อที่ 4,938 ไร หรือรอยละ 0.07
                  ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซอนทับกับพื้นที่ราชพัสดุประมาณ 92 ไร สภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
                  คอนขางราบเรียบ ดินรวนปนทรายถึงรวนเหนียวปนทรายแปง ความอุดมสมบูรณคอนขางต่ําถึงต่ํา ปจจุบันมี
                  การใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกไมยืนตน เชน ยางพารา และโกโก
                                            รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ
                                            - ปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณดวยการใสปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียให

                  ถูกตองตามลักษณะดิน ในชวงดินมีความชื้นเหมาะสมควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่ว เพื่อเพิ่ม
                  อินทรียวัตถุแกดิน

                            2) เขตพื้นที่เกษตรกรรมมีศักยภาพในการผลิตสูง
                                  เปนเขตอาศัยน้ําฝนอยูนอกเขตชลประทาน ศักยภาพทางการเกษตรปานกลาง มี
                  ความเหมาะสมปานกลางถึงสูงสําหรับการทํานา ปลูกพืชไร ไมผล ไมยืนตน แตอาจมีขอจํากัดของการใช

                  ประโยชนที่ดินบางประการที่สามารถแกไขไดงาย บางพื้นที่มีแหลงน้ําเพียงพออาจมีการใชพื้นที่เพื่อการ
                  ปลูกพืชผัก หรือไมผลได พื้นที่ทําการเกษตรในเขตนี้จะมีเนื้อที่มากที่สุดของจังหวัด และเปนพื้นที่สําคัญ
                  ในการผลิตพืชเศรษฐกิจ พื้นที่เขตนี้สามารถแบงเปน 3 เขตยอย ตามศักยภาพและความเหมาะสมของ

                  การใชประโยชนที่ดินดังนี้
                                  2.1) เขตทํานา (สัญลักษณแผนที่ 221) มีเนื้อที่ 1,985,530 ไร หรือรอยละ

                  29.18 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย เนื้อ
                  ดินเปนดินรวนปนดินเหนียวถึงดินรวนปนทราย ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางถึงสูงในการทํานาโดย
                  อาศัยน้ําฝน

                                  2.2) เขตพื้นที่พืชเศรษฐกิจเพื่อการอุตสาหกรรม (สัญลักษณแผนที่ 222) เขตนี้เปน
                  เขตที่มีการปลูกพืชในลักษณะโควตา เพื่อรองรับภาคธุรกิจและรักษาระดับราคาผลผลิตทางการเกษตร





                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105