Page 110 - khonkaen
P. 110

5-16







                        5.3.2 ขอเสนอแนะ

                        1) ขอเสนอแนะในเขตพื้นที่ปาไมและสิ่งแวดลอม
                                1.1) เรงรัดใหดําเนินการแกไขปญหาที่ดินปาไมในเขตพื้นที่ปาตามกฎหมาย เชน พื้นที่มี
                  สภาพเปนปารอสภาพฟนฟู (ปาเสื่อมโทรม) ในเขตปาเศรษฐกิจ ซึ่งกรมปาไมไดมอบพื้นที่ดังกลาวให
                  สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เพื่อเรงรัดดําเนินการตามแนวทางที่กําหนดไวตาม

                  เงื่อนไขในการใชที่ดิน ในบริเวณดังกลาว
                                1.2) ในระยะยาวผลักดันใหการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมมีผลในทางปฏิบัติอยางจริงจังเพราะ
                  การจัดหาที่ดินทํากินใหแกเกษตรกรดวยการปฏิรูปที่ดินถือวาเปนแนวทางสําคัญที่จะแกปญหา
                  เกษตรกรรมของไทยอยางยั่งยืน
                                1.3) ควรศึกษาการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ปลูกไมผลและไมยืนตน บริเวณที่มีความ

                  ลาดชันสูงเพื่อจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมในแตละพื้นที่และใชเปนฐานขอมูลดานการ
                  จัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะในเขตพื้นที่เสี่ยงตอการสูญเสียดิน
                                1.4) สงเสริมสนับสนุนบทบาทองคการบริหารสวนทองถิ่นและประชาชนใหมีสวนรวม
                  ในการจัดการปาไมในรูปของปาชุมชน
                                1.5) เรงดําเนินการปลูกปาทดแทนเพื่อฟนฟูสภาพปาตนน้ําลําธาร

                                1.6) ดําเนินการตามมาตรการรักษาพื้นที่ปาใหชัดเจนและสอดคลองกับสภาพพื้นที่ อีกทั้ง
                  ยังสามารถใชเปนแนวกันชนเพื่อการรักษาพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ
                                1.7) มาตรการหรือแนวทางการจัดการทรัพยากรของหนวยงานตาง ๆ ในพื้นที่ควร

                  กําหนดใหมีความสอดคลองกับนโยบายและแนวทางดําเนินการของคณะกรรมการลุมน้ําและ
                  คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ (กนช.) เพื่อใหเกิดการบริหารการจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ
                                1.8) พัฒนาองคความรูในการบริหารการจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                  โดยการสงเสริมการวิจัย การพัฒนาชุมชน และนักวิชาการในทองถิ่น

                        2) ขอเสนอแนะในเขตพื้นที่เกษตรกรรม

                                การดําเนินการจัดการหรือพัฒนาพื้นที่มีความจําเปนตองจัดการแบบผสมผสาน และตอง
                  เขาใจถึงความสัมพันธของทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ ทั้งการจัดการทรัพยากรดิน น้ํา และปาไม
                  ตองประสานสอดคลองกับสภาพพื้นที่ตั้งแตพื้นที่ที่เปนตนน้ําเนินเขาจนถึงที่ราบ และการใชที่ดิน
                  ประเภทตาง ๆ ใหรองรับและสัมพันธซึ่งกันและกัน ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองมีมาตรการตาง ๆ
                  รองรับเพื่อใหสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาไปสูการปฏิบัติดังนี้

                                2.1) ปรับเปลี่ยนระบบผลิตทางการเกษตรตามศักยภาพพื้นที่และความเหมาะสมทาง
                  เศรษฐกิจ เพื่อใหเกิดการพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน รวมทั้งปรับปรุงบํารุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตทาง
                  การเกษตรใหสูงขึ้น ตามแนวทางจากพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 เนื่องจากในปจจุบันพื้นที่

                  เกษตรกรรมของไทยประสบปญหาความเสื่อมโทรมขาดการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม
                                2.2) ปรับปรุงและฟนฟูความอุดมสมบูรณของดินเพื่อเกษตรกรรมแนวทางดําเนินการตาม
                  พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดินรวมทั้งเปนการ
                  เพิ่มผลผลิตการเกษตรใหสูงขึ้นเพราะในสภาวการณปจจุบันพื้นที่เกษตรกรรมของไทยประสบปญหาความ





                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115