Page 109 - khonkaen
P. 109

5-15





                                    - ควรปองกันและรักษาสภาพปาไมใหคงความสมบูรณและมีความหลากหลายทาง

                  ชีวภาพ โดยใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดการ เพื่อใหมีการใชประโยชนจากไมและของปารวมกันอยาง
                  พอเพียงและยั่งยืน
                        5.2.2 การติดตามและประเมินผล โดยการติดตาม ตรวจสอบความกาวหนา ปญหาอุปสรรค

                  ตลอดจนความสําเร็จ และความลมเหลวของโครงการ กิจกรรมตาง ๆ ที่ประกอบขึ้นเปนกลยุทธ วามี
                  การดําเนินงานตามยุทธศาสตรที่กําหนดไวหรือไม ชวยทําใหบรรลุเปาหมายตั้งไวหรือไม และนําขอมูล
                  ตาง ๆ เหลานี้มาใช ในการปรับปรุงยุทธศาสตร แผนงาน/โครงการ รวมทั้งการ ดําเนินงานในดานตาง ๆ
                  ของจังหวัดตอไป


                  5.3  สรุปและขอเสนอแนะ

                        5.3.1 สรุป
                        การจัดทําแผนการใชที่ดินในพื้นที่เปนการกําหนดเขตโดยพิจารณาจากลักษณะทางกายภาพ
                  ของพื้นที่ การใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน ทรัพยากรดินตามศักยภาพของพื้นที่ตลอดจนความเหมาะสม

                  ในการเพาะปลูก และขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชทรัพยากรและที่ดินปาไมในเขตปาสงวนแหงชาติ
                  รวมถึงพื้นที่ภายใตขอกําหนดที่ตองสงวนพื้นที่ไวเพื่อการอนุรักษ ดังนั้นการนําแผนการใชที่ดินไปสูการ
                  ปฏิบัติใหมีประสิทธิภาพและเปนรูปธรรม หนวยงานที่เกี่ยวของและชุมชนในพื้นที่จึงควรนําแผนการใชที่ดิน
                  ดังกลาวไปพิจารณาและรวมดําเนินการจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดินใหมีความสอดคลองกันทั้งระบบ

                  เพื่อการบริหารการจัดการพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองตามหลักวิชาการ อีกทั้งยังชวยลด
                  ปญหาความขัดแยงในเรื่องการใชประโยชนพื้นที่ได โดยเขตที่ควรเรงดําเนินการพัฒนาพื้นที่เปนอันดับตน
                  ๆ ไดแก เขตพื้นที่เกษตรกรรมมีศักยภาพในการผลิตสูง เนื่องจากในบริเวณดังกลาวเปนพื้นที่ที่มีความ

                  เหมาะสมในการเพาะปลูกปานกลางถึงสูง และเปนบริเวณที่มีศักยภาพในการพัฒนาเพื่อเพิ่มปริมาณ
                  และคุณภาพผลผลิตได ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของจึงควรประสานงานเพื่อจัดหาแหลงน้ําเพื่อ
                  การเกษตร และถายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อสงเสริมและสนับสนุนเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต
                  และลดตนทุนการผลิต ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
                        จากการจัดทําแผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน สามารถกําหนดเขตการใชที่ดินตามขอกําหนด

                  การใชที่ดินตามกฎหมายและความเหมาะสมของที่ดินตามศักยภาพของพื้นที่ไดเปน 6 เขต ดังนี้
                        1) เขตพื้นที่ปาไมตามกฎหมายและปาไมตามมติคณะรัฐมนตรี เนื้อที่ 1,054,744 ไร หรือรอยละ
                  15.50 ของเนื้อที่จังหวัด
                        2) เขตพื้นที่เกษตรกรรม เนื้อที่ 4,520,544 ไร หรือรอยละ 66.44 ของเนื้อที่จังหวัด

                        3) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง เนื้อที่ 500,450 ไร หรือรอยละ 7.36 ของเนื้อที่จังหวัด
                        4) เขตอุตสาหกรรม เนื้อที่ 38,970 ไร หรือรอยละ 0.57 ของเนื้อที่จังหวัด
                        5) พื้นที่แหลงน้ํา เนื้อที่ 370,179 ไร หรือรอยละ 5.44 ของเนื้อที่จังหวัด
                        6) เขตคงสภาพปานอกเขตปาตามกฎหมาย พื้นที่ปาไมตากฎหมายและปาไมตามมติคณะรัฐมนตรี

                  เนื้อที่ 318,858 ไร หรือรอยละ 4.69 ของเนื้อที่จังหวัด









                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114