Page 98 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 98

3-42





                                      1.4.2.3)  สับปะรด (ภูแล นางแล) จากการส ารวจของกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทาง

                  การเกษตร และกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน,
                  2561 พบว่า ณ ราคาขายที่เกษตรกรขายได้กิโลกรัมละ 11.93 บาท มีต้นทุนการผลิต 5,397.38 บาทต่อ
                  ไร่ ผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับ 39,222.98 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 33,825.60 บาทต่อไร่


                  ตารางที่ 3-19  ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตพืชทางเลือกของจังหวัดเชียงราย

                                                        ลิ นจี่ 1             กาแฟ 1
                                รายการ                                                        สับปะรด 2
                                                   S2         S3         S2          S3
                   1. ต้นทุนรวม (บาท/ไร่)        7,434.56   7,029.93   11,690.96   12,768.61   5,397.38
                   2. ผลผลิตต่อไร่ (กก.)           440.42    354.55     1,275.02    980.20     3,287.76
                   3. ผลตอบแทน (บาท/ไร่)         9,755.30   7,853.28   24,365.63   18,731.62   39,222.98
                   4. ผลตอบแทนสุทธิ (บาท/ไร่)    2,320.74    823.35    12,674.67   5,963.01   33,825.60
                   5. ราคา (บาท/กก.)               22.15      22.15       19.11      19.11       11.93
                   6. อัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด
                       (BCR)                        1.31       1.12        2.08       1.47        7.27

                  ที่มา  :  1. รายงานการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตพืชระดับจังหวัดเชียงราย, กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน, 2561
                        2. จากการส ารวจ


                        2) การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจพืชเศรษฐกิจและพืชทางเลือก
                           การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจพืชเศรษฐกิจ และพืชทางเลือก เพื่อประกอบการพิจารณาวางแผน
                  การใช้ที่ดินระดับจังหวัดของจังหวัดเชียงราย ซึ่งผลิตพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ 4 ชนิด ได้แก่ ข้าวเหนียวนาปี
                  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ล าไย และยางพารา และพืชทางเลือก 3 ชนิด ได้แก่ ลิ้นจี่ กาแฟ (อาราบิก้า) และ

                  สับปะรด (ภูแล นางแล) ซึ่งการวิเคราะห์ในครั้งนี้ได้พิจารณาจากข้อมูลด้านการผลิต ต้นทุนและ
                  ผลตอบแทนการผลิต โครงสร้างและวิถีการตลาด การกระจายผลผลิต รวมถึงมาตรการและนโยบายของ
                  รัฐบาลการส่งเสริมในพื้นที่ ผลการวิเคราะห์มีรายละเอียดดังนี้

                           2.1) ข้าวเหนียวนาปี
                               การผลิตข้าวเหนียวนาปีของเกษตรกรในจังหวัดเชียงรายปลูกข้าวไว้เพื่อการบริโภคร้อย

                  ละ 33.3 เพื่อเป็นเมล็ดพันธุ์ร้อยละ 0.7 ส่วนที่เหลือจากการบริโภคและท าพันธุ์จึงจะน าออกขายร้อยละ
                  66.0 เมื่อพิจารณาอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (BCR) พบว่า ในพื้นที่เหมาะสมมาก/เหมาะสมปาน
                  กลาง และพื้นที่เหมาะสมน้อย/ไม่เหมาะสม เท่ากับ 1.66 และ 1.33 ตามล าดับ มีค่ามากกว่า 1 แสดงให้
                  เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน และเมื่อพิจารณาผลผลิตข้าวเหนียวนาปีพบว่า ความต้องการใช้ (Demand)

                  เท่ากับผลผลิต (Supply) จึงท าให้ผลผลิตข้าวเหนียวนาปีในจังหวัดเชียงรายเพียงพอกับความต้องการใช้

                           2.2) ข้าวโพดเลี ยงสัตว์
                               การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย สรุปได้ว่า ผลผลิตข้าวโพด
                  เลี้ยงสัตว์ร้อยละ 99.38 จุดรวมผลผลิตของตลาดรับซื้อปลายทางคือโรงงานอุตสาหกรรมอาหารสัตว์
                  และฟาร์ม เลี้ยงสัตว์ ที่ตั้งอยู่นอกจังหวัดเชียงราย เมื่อพิจารณาอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (BCR)
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103