Page 99 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 99

3-43





                  พบว่า ในพื้นที่เหมาะสมมาก/เหมาะสมปานกลาง และพื้นที่เหมาะสมน้อย/ไม่เหมาะสม เท่ากับ 1.36

                  และ 1.44 ตามล าดับ มีค่ามากกว่า 1 แสดงให้เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน

                           2.3) ล าไย
                               ผลผลิตล าไยของจังหวัดเชียงราย (Supply) มีความสมดุลกับความต้องการใช้ล าไย
                  (Demand) หากพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตล าไยพบว่า ล าไยในพื้นที่ไม่เหมาะสม/
                  เหมาะสมน้อยได้รับผลตอบแทนสูงกว่าในพื้นที่เหมาะสม/เหมาะสมปานกลาง และมีอัตราส่วนรายได้ต่อ

                  ต้นทุนทั้งหมด (BCR) ในพื้นที่เหมาะสมน้อย/ไม่เหมาะสม และพื้นที่เหมาะสมมาก/เหมาะสมปานกลาง
                  เท่ากับ 2.11 และ 1.84 ตามล าดับ มีค่ามากกว่า 1 แสดงให้เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน

                           2.4) ยางพารา
                               เนื่องจากจังหวัดเชียงรายไม่มีโรงงานแปรรูปยางพารา การผลิตยางพาราของเกษตรกร

                  ในจังหวัดเชียงราย สรุปได้ว่า ผลผลิตยางส่วนใหญ่คือยางก้อนถ้วยเพื่อส่งขายออกนอกจังหวัดทั้งหมด
                  หากพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตล าไยพบว่า ยางพาราในพื้นที่ไม่เหมาะสม/เหมาะสมน้อย
                  ได้รับผลตอบแทนน้อยกว่าในพื้นที่เหมาะสม/เหมาะสมปานกลาง และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุน
                  ทั้งหมด (BCR) ในพื้นที่เหมาะสมน้อย/ไม่เหมาะสมเท่ากับ 0.89 มีค่าน้อยกว่า 1 แสดงให้เห็นว่าไม่คุ้มค่า

                  กับการลงทุน จึงควรแนะน าให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น

                           2.5) ลิ นจี่
                               จากรายงานการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตพืชระดับจังหวัดเชียงราย ปี
                  การผลิต 2561/62 ของกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนา
                  ที่ดิน, 2562 พบว่า พื้นที่เหมาะสมปานกลาง และในพื้นที่เหมาะสมน้อยมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุน

                  ทั้งหมด (BCR) เท่ากับ 1.31 และ 1.12 ตามล าดับ มีค่ามากกว่า 1 แสดงให้เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน

                           2.6) กาแฟ (อาราบิก้า)
                               จากรายงานการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตพืชระดับจังหวัดเชียงราย ปี
                  การผลิต 2561/62 ของกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนา

                  ที่ดิน, 2562 พบว่า พื้นที่เหมาะสมปานกลาง และในพื้นที่เหมาะสมน้อยมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุน
                  ทั้งหมด (BCR) เท่ากับ 2.08 และ 1.47 ตามล าดับ มีค่ามากกว่า 1 แสดงให้เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน

                           2.7) สับปะรด (ภูแล นางแล)
                               จากการส ารวจของกลุ่มเศรษฐกิจเพื่อการเกษตร และกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้
                  ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน, 2561 พบว่า มีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (BCR) เท่ากับ

                  7.27 มีค่ามากกว่า 1 แสดงให้เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104