Page 97 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 97

3-41





                                                 จากรูปที่ 3-20 พบว่า ผลผลิตยางพารา (อุปทาน:Supply) ใน
                  จังหวัดเชียงราย ปี 2559 มีปริมาณทั้งสิ้น 41,148 ตัน เป็นยางพาราที่ผลิตได้ภายในจังหวัดทั้งหมด

                  ความต้องการใช้ภายในจังหวัด (อุปสงค์:Demand) มีจ านวน 41,148 ตัน โดยส่งออกนอกจังหวัดทั้งหมด
                  เนื่องจากจังหวัดเชียงรายไม่มีโรงงานแปรรูปยางพารา

                                   ผลผลิต (Supply) 41,148 ตัน    ผลผลิตในจังหวัด 41,148 ตัน 100%


                         ยางพารา
                                   ความต้องการ (Demand) 41,148 ตัน   ส่งออกไปนอกจังหวัด 41,148 ตัน 100%


                  รูปที่ 3-20 :  การบริหารจัดการสินค้ายางพาราจังหวัดเชียงราย ปี 2559                                                       ส่งออกนอกจังหวัด
                  ที่มา  :  ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 1, 2560
                                                                                                                                                  0 ตัน

                               1.4.2)  พืชเศรษฐกิจทางเลือก

                                      จากข้อมูลส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย พบว่า เกษตรกรมีการปลูกพืช
                  เศรษฐกิจนอกเหนือจากข้าวเหนียวนาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ล าไย และยางพารา ได้แก่ ลิ้นจี่ กาแฟ (อารา
                  บิก้า) และสับปะรด (ภูแล นางแล) จากการพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทนของพืชทางเลือกสามารถ
                  สรุปได้ดังนี้ (ตารางที่ 3-19)

                                      1.4.2.1)  ลิ นจี่ จากรายงานการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตพืช
                  ระดับจังหวัดเชียงราย ปีการผลิต 2561/62 ของกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและ
                  แผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน, 2562 พบว่า ณ ราคาขายที่เกษตรกรขายได้กิโลกรัมละ 22.15 บาท
                  ลิ้นจี่ที่ปลูกในพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีต้นทุนการผลิต 7,434.56 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนที่

                  เกษตรกรได้รับ 9,755.30 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 2,320.74 บาทต่อไร่ ลิ้นจี่ที่ปลูกในพื้นที่
                  เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีต้นทุนการผลิต 7,029.93 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับ 7,853.28
                  บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 823.35 บาทต่อไร่
                                      1.4.2.2)  กาแฟ (อาราบิก้า) จากรายงานการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน

                  การผลิตพืชระดับจังหวัดเชียงราย ปีการผลิต 2561/62 ของกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กอง
                  นโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน, 2562 พบว่า ณ ราคาขายที่เกษตรกรขายได้กิโลกรัมละ
                  19.11 บาท กาแฟที่ปลูกในพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีต้นทุนการผลิต 11,690.96 บาทต่อไร่
                  ผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับ 24,365.63 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 12,674.67 บาทต่อไร่ กาแฟที่

                  ปลูกในพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีต้นทุนการผลิต 12,768.61 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนที่เกษตรกร
                  ได้รับ 18,731.62 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 5,963.01 บาทต่อไร่
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102