Page 93 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 93

3-37





                                                 วิถีตลาดล าไยของจังหวัดเชียงราย ปี 2559 ผลผลิตล าไยที่
                  เกษตรกรผลิตได้และน าไปขายให้กับแหล่งรับซื้อ (รูปที่ 3-16) ดังนี้ เกษตรกรน าผลผลิตขายให้กับล้งหรือ

                  ผู้ส่งออกโดยตรงร้อยละ 79 ล้งหรือผู้ส่งออกรับซื้อผลผลิตล าไยสดเพื่อน าไปเข้าโรงรมซัลเฟอร์ได
                  ออกไซด์ (SO2) ท าให้ล าไยมีสีผิวสวยและสามารถยืดอายุการเก็บไว้ได้นานขึ้น หรือเป็นผู้รับซื้อผลผลิต
                  ล าไยร่วงจากเกษตรกรหรือ สหกรณ์การเกษตรเพื่อน าไปเข้าโรงงานแปรรูปล าไยอบแห้งท าให้ได้ล าไย
                  อบแห้งทั้งเปลือก เกษตรกรขายผลผลิตล าไยร่วงให้กับสหกรณ์การเกษตรร้อยละ 10 และกลุ่มแม่บ้าน/
                  วิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการร้อยละ 8 ที่เหลือขายให้กับพ่อค้าท้องถิ่นร้อยละ 3


                                                            เกษตรกร
                                                             100%


                         3%            10%                            79%                         8%
                         พ่อค้ารวบรวม     สหกรณ์      10%                                   กลุ่มแม่บ้าน/
                           ท้องถิ่น      การเกษตร     1%         ล้ง/ผู้ส่งออก             วิสาหกิจชุมชน/
                          1%                  1%                                            ผู้ประกอบการ
                                                           80%                10%                  8%
                         พ่อค้าขายส่ง   พ่อค้าขายส่ง    โรงอบ/เตาอบล าไย  โรงรมซัลเฟอร์    โรงอบ/ตู้อบล าไย

                          ในจังหวัด      ต่างจังหวัด    อบแห้งทั้งเปลือก   ไดออกไซด์ (so2)   อบแห้งทั้งเปลือก
                          1%                  1%                                           และล าไยเนื้อสีทอง
                        พ่อค้าขายปลีก   พ่อค้าขายปลีก
                                         ต่างจังหวัด
                          ในจังหวัด
                                                               80%              10%                8%
                         1%                   1%

                           ผู้บริโภค      ผู้บริโภค      ตลาดต่างประเทศ (จีน, เวียดนาม, อินโดนีเซีย)
                         ในจังหวัด 9%   ต่างจังหวัด 1%               90%

                  หมายเหตุ :   หมายถึง เส้นทางการไหลของล าไยสด
                               หมายถึง เส้นทางการไหลของล าไยที่แปรรูปแล้ว
                  รูปที่ 3-16 :  วิถีตลาดล าไยของจังหวัดเชียงราย ปี 2559
                  ที่มา  :  ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 1, 2560


                                              2. ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน อุปสงค์ (Demand) และอุปทาน
                  (Supply)
                                                 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตล าไยของจังหวัดเชียงราย ปี

                  2559 ในพื้นที่เหมาะสมของดิน (S1/S2) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตรวม 13,350.23 บาทต่อไร่
                  ปริมาณผลผลิตเลลี่ย 1,367.00 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่จ าหน่ายได้เลลี่ย 17.95 บาทต่อกิโลกรัม
                  ผลตอบแทนไร่ละ 24,537.65 บาท และมีผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 11,187.42 บาท ในพื้นที่ไม่เหมาะสม
                  ของดิน (S3/N) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตรวม 9,771.52 บาทต่อไร่ ปริมาณผลผลิตเลลี่ย
                  1,148.00 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่จ าหน่ายได้เลลี่ย 17.95 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนไร่ละ 20,606.60
                  บาท และมีผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 10,835.08 บาท (ตารางที่ 3-16)
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98