Page 52 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 52

2-39





                        7. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560–
                  2579) มียุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ที่เกี่ยวข้องดังนี้
                           ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตภาคการเกษตร สร้างมูลค่าเพิ่มภายใต้เกษตร

                  ปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ ควบคู่กับอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตรให้มีความหลากหลาย สอดคล้องกับ
                  ความต้องการตลาด ซึ่งมีกลยุทธ์หลัก ได้แก่ 1) พัฒนาเกษตรอินทรีย์ โดยลดการใช้สารเคมี ใช้

                  เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 2) ยกระดับอุตสาหกรรมแปรรูป โดยน านวัตกรรมและ
                  เทคโนโลยีมาใช้ตลอดสายการผลิต สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ตอบสนองต่อตลาด

                           ยุทธศาสตร์ที่ 6 ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้คืนความอุดมสมบูรณ์ สร้าง
                  ความสมดุลแก่ระบบนิเวศ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีกลยุทธ์หลัก ได้แก่ 1)
                  พัฒนาพลังงานทดแทนโดยน าผลผลิตและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเพิ่มมูลค่าและลดปัญหา

                  สิ่งแวดล้อม 2) ฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าไม้ในพื้นที่ป่าต้นน้ า 3) บริหารจัดการน้ าอย่างเป็นระบบในลุ่มน้ าหลัก                                            2-39
                  ของภาค 4) พัฒนาแหล่งกักเก็บน้ าขนาดใหญ่ที่ส าคัญ และ 5) แก้ไขปัญหาหมอกควัน


                        8. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 (พ.ศ. 2561-2565) มีประเด็นและแนว
                  ทางการพัฒนาที่เกี่ยวข้องดังนี้

                          ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตร
                  และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยที่มีศักยภาพ ซึ่งมีแนวทางหลักใน
                  การพัฒนา ได้แก่ 1) เพิ่มผลิตภาพและคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร โดยเน้น

                  ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะสิ่งที่มีศักยภาพทางการตลาด ลดต้นทุนการผลิตโดยใช้หลักการผลิตปริมาณ
                  มาก ปรับปรุงคุณภาพการผลิต เพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนากลุ่มธุรกิจและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกษตร

                  2) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี การสร้างนวัตกรรม และมูลค่าเพิ่มให้กับ
                  ผลิตภัณฑ์และอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร 3) สร้างความเข้มแข็งต่อเกษตรกร องค์กรเกษตรและ

                  ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม โดยการสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เครือข่ายการเรียนรู้
                  ด้านเทคโนโลยีเกษตรในพื้นที่ และสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มธุรกิจและผู้ประกอบการตามแนวทาง

                  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) ส่งเสริมการบริหารจัดการการตลาดสินค้าเกษตร โดยการเพิ่มขีด
                  ความสามารถในการแข่งขันทางการตลาดแก่กลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตร รวมทั้งสร้างช่องทางการจัด
                  จ าหน่ายเฉพาะกลุ่ม (Niche Product)

                          ประเด็นการพัฒนาที่ 4 ด ารงฐานทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ การบริหารจัดการ
                  สิ่งแวดล้อมและพลังงานโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสู่การเป็นกลุ่มจังหวัดสีเขียว ซึ่งมีแนวทางหลัก

                  ในการพัฒนา ได้แก่ 1) รักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติและความสมดุลของระบบนิเวศน์ โดยการ
                  แก้ปัญหาการบุกรุกท าลายทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ การปลูกป่า ปลูกหญ้าแฝก เพื่อฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้ า

                  และป่าชุมชน การจัดท า Food Bank รวมทั้งการส่งเสริมอาชีพในชุมชนในพื้นที่ป่าตามแนวทาง
                  เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส และความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยิ่ง 2) พัฒนา

                  ระบบการบริหารจัดการเพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้เทคโนโลยี GIS ในการจัดท า
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57