Page 51 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 51

2-38




                  กระทบที่อาจจะเกิดขึ้นในที่ดินหรือทรัพยากรดินจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือภัยธรรมชาติ

                  และการก าหนดแนวทางในการรับมือ ป้องกัน แก้ไขปัญหา ก าหนดมาตรการช่วยเหลือที่เหมาะสม ใน
                  พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบและภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พื้นที่ที่ได้รับความเสี่ยงจาก

                  การเกิดภัยธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้น โดยมีการบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
                         ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน มีกลยุทธ์หลักได้แก่ 1) การ

                  พัฒนาเครื่องมือ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็น
                  ธรรม โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดิน

                  และทรัพยากรดิน รวมทั้งผลักดันให้มีผลบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ การส่งเสริมการน าเทคโนโลยี
                  นวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพมาใช้ในการบริหารจัดการที่ดิน และทรัพยากรดิน การเร่งรัด พัฒนาระบบ
                  ฐานข้อมูลที่ดินและทรัพยากรดิน การจัดท าแผนที่ก าหนดแนวเขต ที่ดินของรัฐ โดยมีกฎหมายรองรับ มี

                  มาตรการทางการเงิน การคลัง เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน ให้เกิดประโยชน์                                                          2-38
                  สูงสุดและเป็นธรรม และ 2) การพัฒนาองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน โดย

                  มุ่งเน้นการส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาวิจัยและการพัฒนาเกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากรดิน โดยมีแผนงาน
                  การวิจัยที่เป็นระบบ รวมทั้งเผยแพร่และประชาสัมพันธ์งานวิจัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลักดันผลงาน การ

                  วิจัยไปสู่การปฏิบัติ และการพัฒนาการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน
                  ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ

                        6. แผนพัฒนาภาคเหนือ พ.ศ. 2560 – 2564 มียุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาที่เกี่ยวข้องดังนี้

                          ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับเป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เชื่อมโยงสู่
                  อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่สร้างมูลค่าเพิ่มสูง ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาหลักในการพัฒนา ได้แก่

                  1) พัฒนาฐานการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน และเกษตรปลอดภัยในพื้นที่
                  ภาคเหนือตอนล่าง โดยสนับสนุนการท าเกษตรยั่งยืนอย่างครบวงจร เกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์
                  สนับสนุนการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายเกษตรกรเพื่อพัฒนาทั้งด้านการผลิตและการตลาดอย่างมี

                  ประสิทธิภาพ ให้ความรู้กับเกษตรกรในการใช้สารอินทรีย์แทนสารเคมี เฝ้าระวังผลกระทบจากการใช้
                  สารเคมีที่มีต่อดินและน้ า ส่งเสริมช่องทางการกระจายผลผลิต สร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภค

                  อาหารเพื่อสุขภาพ สนับสนุนการตรวจสอบคุณภาพผลผลิต และการตรวจสอบย้อนกลับอย่างเป็นระบบ
                  เพื่อสร้างความมั่นใจให้ผู้บริโภค 2) สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาทางการเกษตรทั้งระบบ ส่งเสริมการใช้

                  ปัจจัยการผลิต และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ รวมทั้งเสริมสร้างความรู้ การให้ข้อมูลเพื่อการ
                  ตัดสินใจการผลิต แก่เกษตรกร เช่นการโซนนิ่งพื้นที่ปลูกพืช การเกษตรแปลงใหญ่ซึ่งเป็นการบริหาร

                  จัดการที่ดินให้เกิดประโยชน์ สอดคล้องกับศักยภาพและให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อเพิ่ม
                  ประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต และ 3) พัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการเกษตรอย่างเป็นระบบเครือข่ายที่
                  เชื่อมโยง เพื่อใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงการพัฒนาแหล่งเก็บกักน้ า

                  นอกเขตพื้นที่ชลประทาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บน้ าไว้ใช้ในพื้นที่เกษตรกรรม แก้ไขปัญหาการ
                  ขาดแคลนน้ าของเกษตรกร ในพื้นที่นอกเขตชลประทาน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56