Page 118 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 118

4-19





                  4.2  มาตรการพัฒนาพื้นที่ จังหวัดเชียงราย

                        การด าเนินการจัดการหรือพัฒนาพื้นที่จังหวัดเชียงราย ต้องมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ
                  ครอบคลุมทุกมิติทั้งทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจ าเป็นต้องมี

                  มาตรการด าเนินงานด้านต่างๆ รองรับเพื่อให้สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่จังหวัด ไปสู่การปฏิบัติ
                  อย่างเป็นรูปธรรมสอดคล้องกับแผนการใช้ที่ดินที่ก าหนดขึ้น ดังนี้

                        1. มาตรการด้านการบริหารจัดการ
                          1.1  สร้างกระบวนการการประสานงาน และการท างานอย่างบูรณาการร่วมกัน ระหว่าง
                  หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น ตลอดจนภาคเอกชนให้เอื้อ

                  ประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่น โดยก าหนดนโยบายการบริหารจัดการ หน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐทั้งหน่วยงาน
                  ส่วนกลาง ภูมิภาคและท้องถิ่นให้ชัดเจน
                          1.2  จัดกิจกรรมเสริมกระบวนการเรียนรู้ ศึกษาดูงาน เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง
                  และถ่ายทอดสู่ชุมชนในเรื่องการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                          1.3  จัดท าฐานข้อมูลของทรัพยากรธรรมชาติในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อใช้ในการ
                  จัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นเครื่องมือในการติดตาม ตรวจสอบการบุกรุก
                  ทรัพยากรดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

                        2. มาตรการด้านทรัพยากรป่าไม้
                          ทรัพยากรป่าไม้ เป็นทรัพยากรที่ส าคัญของจังหวัดพิษณุโลก เป็นแหล่งต้นน้ า ล าธาร ซึ่ง

                  จ าเป็นต้องมีมาตรการในการบริหารจัดการตลอดจนควบคุมการใช้ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ให้ถูกต้องเหมาะสม
                  เพื่อลดปัญหาการเสื่อมโทรมของทรัพยากรป่าไม้ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อพื้นที่กลางน้ าและปลายน้ า ดังนี้
                          2.1  สงวนรักษาพื้นที่ป่าอนุรักษ์ไม่ให้ถูกบุกรุกท าลาย โดยการก าหนดแนวเขตป่าอนุรักษ์

                  และพื้นที่ท ากินของประชาชนให้ชัดเจนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
                          2.2  ใช้มาตรการด้านกฎหมายในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชนใน
                  พื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ถูกบุกรุกโดยด าเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่องมาตรการและ
                  แนวทางแก้ไขที่ดินในพื้นที่ป่าไม้อย่างเคร่งครัด
                          2.3   เร่งรัดการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ที่เสื่อมโทรมด้วยวิธีธรรมชาติและปลูกป่าทดแทน โดยเฉพาะ

                  อย่างยิ่งในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ให้คืนสภาพป่าธรรมชาติที่สมบูรณ์ โดยด าเนินการร่วมกับชุมชนในท้องถิ่น
                          2.4   ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนโดยรอบพื้นที่ป่าอนุรักษ์ให้เป็นชุมชนเชิงนิเวศเพื่อส่งเสริมให้มี
                  วิถีชีวิตที่สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืนและพึ่งตนเองได้

                        2.5  สนับสนุนประชาชนและภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังการบุกรุกเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่
                  อนุรักษ์โดยการสร้างแรงจูงใจเพื่อการรักษาวิถีชีวิตเชิงอนุรักษ์และเพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้จากการ
                  อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศป่าไม้
                          2.6  ส่งเสริมการท่องเที่ยวป่าเชิงอนุรักษ์ โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ

                  แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
                          2.7  เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ รณรงค์ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตส านึก
                  ให้ประชาชน องค์กรชุมชน องค์กรธุรกิจ ได้ตระหนักถึงผลกระทบจากการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123