Page 119 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 119

4-20






                  สิ่งแวดล้อมของป่าต้นน้ าล าธาร เพื่อกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการป้องกัน เฝ้าระวัง แก้ไขปัญหาและ

                  พัฒนาอย่างยั่งยืน
                          2.8  พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อจัดท าฐานข้อมูลพื้นที่ป่าไม้
                  และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ โดยใช้ระบบเทคโนโลยีและภาพถ่ายดาวเทียมในการติดตาม

                  ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ เพื่อให้ทราบถึงข้อเท็จจริง
                  และสามารถวางระบบการจัดการแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
                        2.9  เร่งรัดให้มีการแก้ไขและเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากร
                  ธรรมชาติที่บังคับใช้อยู่ในปัจจุบันและตรากฎหมายขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันเพื่อ
                  น าไปสู่การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพเป็นธรรมและยั่งยืน

                        3. มาตรการด้านทรัพยากรน้่า
                          3.1   มาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องยึดนโยบาย
                  ของคณะกรรมการทรัพยากรน้ าแห่งชาติ (กนช.) และคณะกรรมการลุ่มน้ าเป็นหลัก เพื่อให้เกิดการ
                  พัฒนาแบบบูรณาการร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง ขาดแคลนน้ าเพื่อใช้ในด้านการเกษตร

                  อุตสาหกรรม การอุปโภคและบริโภค ตลอดจนปัญหาน้ าเน่าเสีย คุณภาพของน้ าที่อยู่ในเกณฑ์ต่ า
                          3.2   ใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อการจัดการบริหารน้ า โดยการก าหนดพระราชบัญญัติ
                  ทรัพยากรน้ าหรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ า การพัฒนาแหล่งน้ าและการควบคุม
                  การใช้น้ าให้สอดคล้องกันและก าหนดสิทธิหน้าที่ของผู้ใช้น้ าให้ชัดเจน
                          3.3  จัดท าทะเบียนแหล่งน้ า พื้นที่ชุ่มน้ าในระดับต าบล

                          3.4   พัฒนาปรับปรุงและอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน้ าอย่างเป็นระบบ เพื่อเพิ่มปริมาณน้ าต้นทุนใน
                  แหล่งน้ าที่มีศักยภาพในการกักเก็บให้มีปริมาณน้ าเพียงพอกับความต้องการและคุณภาพน้ าอยู่ในเกณฑ์ดี
                  สามารถใช้ได้อย่างยั่งยืน
                          3.5   ศึกษาศักยภาพของพื้นที่เพิ่มพื้นที่ชลประทานและประสิทธิภาพการกระจายน้ าของ
                  ระบบชลประทานตลอดจนสร้างแหล่งน้ าขนาดเล็กเพิ่มเติม เช่น บ่อน้ าในไร่นา เพื่อเพิ่มปริมาณการ

                  กักเก็บน้ า
                          3.6  ศึกษาความเป็นไปได้ในการน าน้ าใต้ดินมาใช้ในการเกษตร หรือเพื่อการอุปโภคบริโภค
                          3.7   ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรส่วนท้องถิ่นและประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการดูแล
                  อนุรักษ์ บริหารจัดการทรัพยากรน้ าในพื้นที่ โดยการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้พิจารณาร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ

                  เพื่อให้การจัดสรรน้ ามีความเป็นธรรม สอดคล้องกับระบบนิเวศน์และวัฒนธรรมการจัดการน้ าในแต่ละ
                  ท้องถิ่น
                        4. มาตรการด้านทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน
                          4.1   ควรเร่งด าเนินการแก้ไขปัญหากรรมสิทธิ์ที่ดินด้านเกษตรกรรม โดยเฉพาะการ

                  ด าเนินการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้เสร็จโดยเร็ว  เพื่อให้เกษตรกรมีที่ดินท ากินถูกต้องตามกฎหมายและป้องกัน
                  ที่ดินเปลี่ยนมือจากภาคการเกษตร รวมถึงเป็นแนวป้องกันการบุกรุกขยายพื้นที่ท ากินเข้าไปในเขตพื้นที่ป่า
                          4.2  สนับสนุนให้เกษตรกรรายย่อย มีที่ดินเป็นของตนเองหรือมีสิทธิท ากินในที่ดิน โดยการ
                  ปรับปรุง กฎ ระเบียบที่มีอยู่ให้เอื้อต่อการน าที่ดินมาใช้เพื่อการเกษตร เช่น พระราชบัญญัติการเช่าที่ดิน

                  เพื่อเกษตรกรรม ปี 2524 เป็นต้น
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124