Page 110 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 110

4-10





                  ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร รัฐจึงควรก าหนดให้เป็นพื้นที่เป้าหมายแรกในการเร่งรัดฟื้นฟูคุณภาพดิน

                  และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีขึ้น เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการ
                  ผลิตต่ า สามารถแบ่งได้เป็น 4 เขตย่อย ได้แก่ เขตท านา เขตปลูกพืชไร่ เขตปลูกไม้ผล และเขตปลูกไม้ยืน
                  ต้น โดยมีรายละเอียดดังนี้

                              1) เขตท านา มีเนื้อที่ 9,512 ไร่ หรือร้อยละ 0.13 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ในเขต
                  นี้เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวถึงดินร่วนละเอียด เป็นดินลึก
                  ปานกลางถึงลึกมาก บางบริเวณเป็นดินตื้น มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ าถึง
                  ปานกลาง มีการท าคันนาเพื่อใช้เพาะปลูกข้าว ความเหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่มีความเหมาะสมส าหรับการปลูก
                  ข้าว สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันเป็นนาข้าว พื้นที่เขตนี้ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกข้าว

                  โดยอาศัยน้ าฝนเป็นหลัก ส่วนใหญ่พบกระจายตัวเป็นหย่อมๆ ทุกอ าเภอของจังหวัดเชียงราย ยกเว้น
                  อ าเภอแม่สาย อ าเภอป่าแดด
                                (1) ควรปรับปรุงบ ารุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืช

                  สด เพื่อช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ส าหรับพืช ร่วมกับการใส่ปุ๋ย
                  วิทยาศาสตร์ในอัตราส่วนที่เหมาะสม
                                (2) พัฒนาแหล่งน้ าเพิ่มเติม เช่น บ่อน้ าขนาดเล็กในไร่นา รวมทั้งปรับปรุงแหล่งน้ า
                  ตามธรรมชาติ ให้สามารถกักเก็บน้ าได้ดีขึ้น เพื่อใช้ส าหรับปลูกพืชเพื่อลดความเสียหายจากกรณี

                  ฝนทิ้งช่วง
                                (3) คัดเลือกข้าวพันธุ์ดีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และท าการเกษตรโดยยึดแนวทาง
                  เกษตรผสมผสานตามแนวทางทฤษฎีใหม่และเกษตรพอเพียงเพื่อการค้าและการบริโภค
                              2) เขตปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ 105,418 ไร่ หรือร้อยละ 1.44 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ใน

                  เขตนี้เป็นที่พื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา เป็นดินตื้นถึงดินลึกปานกลางที่มีลูกรัง กรวด
                  หินปะปน การระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ดินต่ า บางบริเวณเป็นดินตื้นถึงชั้นหินพื้นซึ่ง
                  ส่งผลต่อการชอนไชของรากพืช มีความเหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่เหมาะสมส าหรับปลูกพืชไร่พื้นที่ในเขตนี้
                  ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไร่ในเขตนี้อาศัยน้ าฝนเป็นหลัก สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบัน

                  ส่วนใหญ่เป็นพืชไร่ เช่น ข้าวโพดและสับปะรด พื้นที่ในเขตนี้ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืช
                  ไร่ในเขตนี้อาศัยน้ าฝนเป็นหลัก ส่วนใหญ่พบกระจายตัวเป็นหย่อมๆ ในทุกอ าเภอของจังหวัดเชียงราย
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                (1) ควรมีการปรับปรุงบ ารุงดินโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่ม
                  ธาตุอาหารและปรับโครงสร้างของดิน
                                (2) ควรเร่งพัฒนาระบบชลประทานเพื่อปรับรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการ
                  ปลูกพืชไร่มาเป็นการปลูกไม้ผลหรือพืชผัก
                                (3) ควรท าการเพาะปลูกพืชในช่วงระยะเวลาที่ดินมีความชื้นที่เหมาะส าหรับพืช

                                (4) ปรับปรุงคุณภาพของดินให้มีความอุดมสมบูรณ์และลักษณะทางกายภาพของ
                  ดินที่เหมาะสมส าหรับการปลูกพืช โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ต่างๆ เช่น ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก ซึ่งช่วยในการ
                  ปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ดีขึ้น
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115