Page 106 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 106

4-6





                  ผลผลิตให้สูงขึ้นได้มากกว่าเขตอื่นในพื้นที่จังหวัด เขตเกษตรกรรมชั้นดี สามารถแบ่งได้เป็น 4 เขตย่อย

                  ได้แก่ เขตท านา เขตปลูกพืชไร่ เขตปลูกไม้ผล และเขตปลูกไม้ยืนต้น โดยมีรายละเอียดดังนี้
                              1) เขตท านา มีเนื้อที่ 341,147 ไร่ หรือร้อยละ 4.67 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ใน
                  เขตนี้เป็นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินในที่ลุ่มมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดิน

                  ร่วนเหนียว ดินร่วนละเอียดถึงดินร่วนหยาบ เป็นดินลึก มีการระบายน้ าเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินปาน
                  กลาง บางบริเวณเป็นดินที่ดอน มีมีเนื้อดินเป็นดินร่วนหยาบที่มีการท าคันนาเพื่อใช้เพาะปลูกข้าว ดินมีความ
                  เหมาะสมปานกลางถึงสูงส าหรับการท านา สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันเป็นนาข้าว พื้นที่เขตนี้ก าหนดให้
                  เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกข้าวที่อาศัยระบบชลประทาน ส่วนใหญ่พบในเขตอ าเภอเมืองเชียงราย
                  อ าเภอแม่ลาว อ าเภอแม่สาย อ าเภอแม่สวย อ าเภอเวียงป่าเป้า อ าเภอเวียงเชียงรุ้ง อ าเภอเวียงชัย และ

                  อ าเภอเชียงขอม จังหวัดเชียงราย
                              2) เขตปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ 13,755 ไร่ หรือร้อยละ 0.19 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่
                  ในเขตนี้เป็นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวถึงดินร่วน

                  หยาบ เป็นดินลึก มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง มีความเหมาะสม
                  ปานกลางส าหรับการปลูกพืชไร่ สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นพืชไร่ เช่น ข้าวโพด พื้นที่เขตนี้
                  ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไร่ที่อาศัยระบบชลประทาน ส่วนใหญ่พบในเขตอ าเภอ
                  เมืองเชียงราย อ าเภอเวียงป่าเป้า อ าเภอพาน อ าเภอแม่ลาว อ าเภอเวียงชัย อ าเภอแม่สาย อ าเภอ

                  เชียงของ และอ าเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย
                              3) เขตปลูกไม้ผล มีเนื้อที่ 7,860 ไร่ หรือร้อยละ 0.11 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ใน
                  เขตนี้เป็นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวถึงดินร่วนหยาบ
                  เป็นดินลึก มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง มีความเหมาะสมปาน

                  กลางถึงสูงส าหรับปลูกไม้ผล บางบริเวณเป็นที่ลุ่มซึ่งมีการจัดการพื้นที่ในรูปแบบต่างๆ เพื่อป้องกันปัญหา
                  น้ าท่วม เช่น การท าคันดิน การยกร่องและการพูนโคน เป็นต้น สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันปลูกไม้ผล
                  เช่น ล าไย ลิ้นจี้ ส่วนใหญ่พบในเขตอ าเภอเวียงป่าเป้า อ าเภอพาน อ าเภอแม่ลาว อ าเภอเมืองเชียงราย
                  อ าเภอเวียงชัย อ าเภอเวียงเชียงรุ้ง อ าเภอแม่สาย และอ าเภอเวียงเชียงของ จังหวัดเชียงราย

                              4) เขตปลูกไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 4,205 ไร่ หรือร้อยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่
                  ในเขตนี้เป็นพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวถึงดินร่วน
                  หยาบ เป็นดินลึก มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง ความเหมาะสม

                  ปานกลางถึงสูงส าหรับปลูกไม้ยืนต้น บางบริเวณเป็นที่ลุ่มซึ่งมีการจัดการพื้นที่ในรูปแบบต่างๆ เพื่อ
                  ป้องกันปัญหาน้ าท่วม เช่น การท าคันดิน การยกร่องและการพูนโคน เป็นต้น สภาพการใช้ที่ดินใน
                  ปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น เช่น ยางพารา สัก ยูคาลิปตัส และปาล์มน้ ามัน ส่วนใหญ่พบในเขตอ าเภอ
                  อ าเภอเวียงป่าเป้า อ าเภอพาน อ าเภอแม่ลาว อ าเภอเมืองเชียงราย อ าเภอเวียงชัย อ าเภอเวียงเชียงรุ้ง
                  อ าเภอแม่สาย และอ าเภอเวียงเชียงของ จังหวัดเชียงราย

                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนาในเขตเกษตรกรรมชั้นดี
                              (1) ปรับปรุงบ ารุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยชีวภาพควบคู่กับการใช้
                  ปุ๋ยเคมีซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย ร่วมกับการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกัน

                  การชะล้างพังทลายของดินและรักษาความชุ่มชื้นของดินเช่น การปลูกหญ้าแฝก
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111